ยินดีต้อนรับ

พลเมืองที่รอบรู้เท่าทัน คือ พลังประชาธิปไตยที่แท้จริง
Well-informed citizens are the true democratic forces.

Thursday, June 9, 2016

Malaysia: Law Code Changes Threaten Rights Amendments to Criminal Procedure Would Erode Judicial Authority

For Immediate Release

Malaysia: Law Code Changes Threaten Rights
Amendments to Criminal Procedure Would Erode Judicial Authority 

(Bangkok, June 10, 2016) – 
Malaysia's Senate should reject the government's proposed legal changes that would undermine the rights of criminal suspects, Human Rights Watch said today. Amendments to the country's Code of Criminal Procedure passed the lower house of parliament on May 19, 2016, and will be debated by the Senate in the session starting on June 13

The proposed amendments are being made at a time when the government of Prime Minister Najib Razak has intensified its 
crackdown on criticism by civil society activists, Human Rights Watch said. The code changes would limit the discretion of judges to impose more lenient sentences, allow for previously inadmissible testimony by unidentified witnesses and written testimony, and allow the denial of bail for a broader range of political and other offenses. 

"The proposed amendments are part of a troubling trend of the Malaysian government undermining the right to a fair trial during periods of political turmoil," said 
Phil Robertson, deputy Asia director at Human Rights Watch. "The Senate should reject amendments that undermine the rights of the accused or judges' authority to protect rights." 

The proposed amendments raise serious questions about the government's commitment to the right to a fair trial, Human Rights Watch said. The bill before the Senate contains provisions allowing for testimony by unidentified witnesses and written testimony in place of live testimony without the consent of the defendant. Both provisions deprive defendants of their right to cross-examine the witnesses against them, in violation of internationally recognized fair trial standards. 

The bill would also amend the Code of Criminal Procedure to make an array of additional offenses "non-bailable" – meaning that bail is no longer available as a matter of right. International law encourages the release with guarantees of criminal suspects awaiting trial. Penal Code sections 124B-124J, which criminalize "activity detrimental to parliamentary democracy," are among the non-bailable offenses under the draft law. The proposal to deny bail as of right for such offenses appears aimed at quashing critical comment and peaceful activism, Human Rights Watch said, since the authorities have repeatedly used these provisions to arrest critics of the government and those calling for Najib's resignation. 

Under the proposed bill, judges would also be stripped of their discretion to impose conditional or unconditional discharges, or to release first offenders on probation rather than impose a criminal sentence, whenever the offender has been convicted of a "serious" crime – a term that is not defined in the statute. This would prevent the courts from taking into account the age, health, and mental condition of the defendant or any extenuating circumstances of the offense. Among those who will be affected by the withdrawal of judicial discretion to release first offenders are many of those facing charges or being investigated for political activism.

"The Najib government's proposed legal revisions are sharpening new tools to punish peaceful activists at the expense of fair trials in Malaysia," Robertson said. "Malaysia's friends should raise concerns that the government is doing long-term damage to the rule of law in the country." 

For more Human Rights Watch reporting on Malaysia, please visit: 
www.hrw.org/asia/malaysia

For more information, please contact:
In Bangkok, Phil Robertson, (English, Thai): +66-85-060-8406(mobile); or 
robertp@hrw.org. Twitter: @Reaproy
In London, Linda Lakhdhir (English): +44-0-778-969-2780; or 
lakhdhl@hrw.org
In New York, Mickey Spiegel (English): +1-212-216-1229; or 
spiegem@hrw.org 
In San Francisco, Brad Adams (English): +1-347-463-3531(mobile); or adamsb@hrw.org. Twitter: @BradAdamsHRW
In Washington, DC, John Sifton (English): +1-646-479-2499(mobile); or 
siftonj@hrw.org. Twitter: @johnsifton

ทำอย่างไรไว้ย่อมได้สิ่งนั้น

ทำอย่างไรไว้ย่อมได้สิ่งนั้น

นี่คือเรื่องจริงที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. ๑๘๙๒ ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา นักเรียนหนุ่มวัย ๑๘ ปีผู้หนึ่ง ต้องดิ้นรนหาเงินมาชำระค่าเทอมที่มหาวิทยาลัย เขาเป็นเด็กกำพร้า ไม่ทราบว่าจะหันหน้าไปทางไหนเพื่อหาเงินมาเป็นค่าเล่าเรียน แต่แล้วก็เกิดความคิดที่สดใส เขากับเพื่อนคนหนึ่งตัดสินใจว่าจะจัดงานคอนเสิร์ตดนตรีขึ้นในมหาวิทยาลัยเพื่อหาเงินมาเป็นทุนการศึกษา

พวกเขาไปเชิญนักเปียโนผู้มีชื่อเสียงให้มาเป็นผู้เปิดการแสดงคอนเสิร์ต นักเปียโนท่านนั้นชื่อ อิกนาซี เจ ปาดีริวสกี ผู้จัดการของคุณปาดีริวสกีเรียกร้องค่าจัดการแสดง ๒,๐๐๐ ดอลลาร์ ทั้งสองฝ่ายตกลงทำสัญญากัน

...แต่สวรรค์ช่างไม่ปราณี หนุ่มน้อยทั้งสองขายบัตรได้ไม่มากพอ เมื่อรวบรวมเงินที่ขายบัตรทั้งหมดแล้วได้เงินมาเพียง ๑,๖๐๐ ดอลลาร์ ภายหลังการแสดงจบสิ้นลง พวกเขาไปหาปาดีริวสกี ชี้แจงความจริงให้ทราบ พวกเขายกเงินที่ขายบัตรได้หมดให้ปาดีริวสกี พร้อมเช็คอีก ๑ ใบ เป็นเงิน ๔๐๐ ดอลลาร์ และสัญญาว่าจะหาเงินเข้าบัญชีให้เร็วที่สุด

ปาดีริวสกีกล่าวว่า "นี่เป็นเรื่องที่ผมยอมรับไม่ได้นะครับ" เขาฉีกเช็คใบนั้นแล้วคืนเงิน ๑,๖๐๐ เหรียญให้หนุ่มน้อยทั้งสอง 
"พวกคุณหักค่าใช้จ่ายในการจัดการแสดงให้ครบถ้วน แล้วเก็บเงินจำนวนที่คุณต้องจ่ายค่าเทอมเอาไว้ เหลือเงินเท่าไร คุณค่อยมอบให้ผมนะครับ"

แม้มันจะเป็นความเมตตาเพียงเล็กน้อย แต่การกระทำของปาดีริวสกีก็เป็นเครื่องบ่งชี้ได้ว่า เขาเป็นคนดีเลิศ มีจิตใจที่เปี่ยมเมตตา ...เราทุกคนคงเคยเจอสถานการณ์เช่นนี้มาบ้างแล้วในชีวิตจริง และส่วนใหญ่ พวกเราจะคิดกันว่า "ถ้าเราช่วยเขาแล้ว เราจะได้อะไรบ้างเล่า" แต่คนดีนั้นจะคิดว่า "ถ้าเราไม่ช่วยเขาแล้ว พวกเขาจะเป็นอย่างไร" พวกเขาให้ความช่วยเหลือคนที่ตกทุกข์ได้ยากโดยไม่คาดหวังสิ่งตอบแทน พวกเขาทำไปเพราะรู้สึกสมควรว่าต้องทำเช่นนั้น

ต่อมา ปาดีริวสกีกลายเป็นนายกรัฐมนตรีโปแลนด์ ในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ประชากรโปแลนด์อดอยากและหิวโหย รัฐบาลไม่มีเงินพอจะซื้ออาหารมาเลี้ยงดูประชาชน ปาดีริวสกีตัดสินใจร้องขอความช่วยเหลือไปยังองค์การอาหารเพื่อการบรรเทาทุกข์แห่งสหรัฐอเมริกา หัวหน้าองค์การนี้ชื่อ เฮอร์เบิร์ต ฮูเวอร์ ซึ่งต่อมากลายเป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ ฮูเวอร์ส่งเรือบรรทุกอาหารไปยังโปแลนด์ พลิกสถานการณ์ภัยพิบัติได้ในเวลาอันสั้น

ปาดีริวสกีตัดสินใจเดินทางไปสหรัฐฯเพื่อขอบคุณฮูเวอร์ด้วยตนเอง เมื่อเขาเริ่มกล่าวคำขอบคุณ ฮูเวอร์ก็ตัดบทเขาโดยกล่าวว่า "ท่านนายกรัฐมนตรีครับ ท่านไม่ควรต้องขอบคุณผมเลยนะครับ ท่านอาจจำเรื่องราวไม่ได้แล้ว แต่หลายปีก่อน ท่านได้ช่วยนักเรียนหนุ่มสองคนให้ได้เรียนมหาวิทยาลัย ผมเป็นหนึ่งในสองคนนั้นครับ"

โลกนี้ช่างน่าอัศจรรย์ ทำอย่างไรไว้ย่อมได้สิ่งนั้นกลับคืน กงกรรมกงเกวียนเกิดขึ้นอยู่เสมอ

ข้อมูลจากคอลัมน์ "ฝากใจไว้ที่นี่" โดย "น้ำผึ้งป่า" ในนิตยสารสกุลไทย ฉบับ ๓๒๑๓ และติดตามอ่านบทสัมภาษณ์และบทความดีๆได้ที่เว็บไซต์ www.sakulthaionline.com

รายการพิเศษ "9 มิถุนายน 2559 ถึงเวลาเปลี่ยนระบอบแล้ว" โดยการสานพลังของ จารุพงศ์-อาคม-อเนก-ชูพงศ์-เพียงดิน

รายการพิเศษ "9 มิถุนายน 2559 ถึงเวลาเปลี่ยนระบอบแล้ว"
โดยการสานพลังของ จารุพงศ์-อาคม-อเนก-ชูพงศ์-เพียงดิน

ติดตามคลิปย้อนหลังที่

https://youtu.be/WT32OMkvb38

https://youtu.be/iM_j_G0nQ6k

https://youtu.be/_0KlrZWPZ1g

https://youtu.be/DJlZLd2fPwQ

 

รายการพิเศษ "9 มิถุนายน 2559 ถึงเวลาเปลี่ยนระบอบแล้ว"
สานพลังโดย จารุพงศ์-อาคม-อเนก-ชูพงศ์-เพียงดิน

---------------------

***Download ร่างจดหมาย เพื่อส่งผู้นำนานาชาติต่าง ที่ http://tinyurl.com/gsetacg

***โปรดช่วยกันกระจายและส่งให้มากที่สุดนะครับ ขอบคุณครับ

สนับสนุนแนวทางมดแดงล้มช้าง ของ คณะราษฎรเสรีไทย กับ ดร. เพียงดิน

ส่งข้อมูลลับผ่านช่องทางที่ปลอดภัยทางลิ้งค์ต่อไปนี้

http://tinyurl.com/o2rzao8

หรือที่นี่ http://tinyurl.com/pcqjppt

****ลิ้งค์ล่าสุด  http://tinyurl.com/gssuvm2

และรายงานการปฏิบัติงานและความคืบหน้าเครือข่าย ได้ที่ 4everche@gmail.com

----------------------

สนับสนุนการเผยแพร่โดย ภาคีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชน และมหาวิทยาลัยประชาชน เพื่อสาธารณะประโยชน์ ในการสร้างจิตสำนึกทางประชาธิปไตย สันติวิธี และการเคารพหลักสิทธิมนุษยชน

คนต้องเท่ากับคน 8 มิย 59 ตอน “ทะเลสงบก่อนเกิดพายุใหญ่” เลขาฯเสรีไทย ท่าน จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ

คนต้องเท่ากับคน 8 มิย 59 ตอน “ทะเลสงบก่อนเกิดพายุใหญ่” เลขาฯเสรีไทย ท่าน จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ