ยินดีต้อนรับ

พลเมืองที่รอบรู้เท่าทัน คือ พลังประชาธิปไตยที่แท้จริง
Well-informed citizens are the true democratic forces.

Friday, May 20, 2016

“รัฐธรรมนูญกับประชามติที่เลือกได้”

"รัฐธรรมนูญกับประชามติที่เลือกได้"
https://www.youtube.com/watch?v=nxtDrJFhMs4&feature=youtu.be


การสตรีมเริ่มต้นเมื่อ 1 ชั่วโมง ที่ผ่านมา


เสวนาทางวิชาการ "รัฐธรรมนูญกับประชามติที่เลือกได้"


วันเสาร์ที่ 21 พฤษภาคม 2559 เวลา 13.00-16.30 น.


ณ ห้องอเนกประสงค์ริมน้ำ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

บรรยายพิเศษ เรื่อง "ทำไมต้องมีรัฐธรรมนูญ"


โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

เสวนาวิชาการ เรื่อง "รัฐธรรมนูญกับประชามติที่เลือกได้"
โดย ศ.ดร.เกษียร เตชะพีระ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 
รศ.ดร.อภิชาต สถิตนิรามัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นายบารมี ชัยรัตน์ สมัชชาคนจน
ดร.เดชรัต สุขกำเนิด คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดำเนินรายการโดย ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


บรรยายพิเศษ "ร่างรัฐธรรมนูญในทัศนะของคณะนิติราษฎร์"
โดย ผศ.ดร.ปิยบุตร แสงกนกกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อ.ปูนเทพ ศิรินุพงศ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


จัดโดย


โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการรัฐศาสตร์เสวนา หลักสูตรการเมืองและการจัดการปกครอง ภาควิชาปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำมั่นสัญญาของรัฐบาลทรราช คสช.ที่จะคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกของประชาชนไทย แต่……….หลอกลวง

คำมั่นสัญญาของรัฐบาลทรราช คสช.ต่อประชาคมระหว่างประเทศที่จะคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกของประชาชนไทย แต่..........หลอกลวง

------------------------------------------------------------------------------


ยูพีอาร์เป็นกลไกยูเอ็น แต่ขับเคลื่อนด้วยประชาชนในประเทศ

อกนิษฐ์ หอรัตนคุณ
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย
เผยแพร่ครั้งแรกใน "มติชนสุดสัปดาห์" วันที่ 20 พ.ค. 2559

          ผ่านไปแล้วสำหรับเวทีการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนหรือยูพีอาร์  (UPR – Universal Periodic Review) รอบประเทศไทย โดยรัฐสมาชิกยูเอ็นมากกว่า 100 ประเทศ ที่คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และเมื่อวันศุกร์ที่ 13 พฤษภาคม รัฐบาลไทยได้ตอบรับให้คำมั่นสัญญาว่าจะปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ 181 ข้อ ที่รัฐบาลประเทศอื่นเสนอให้ไทยปฏิบัติตามเพื่อยกระดับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ไทยรับข้อเสนอแนะที่สำคัญ เช่น ผ่านกฎหมายเพื่อปราบปรามการทรมานและอุ้มหาย ให้สัตยาบันอนุสัญญาเลือกรับเรื่องต่อต้านการทรมาน คุ้มครองสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการแสดงออก การชุมนุมอย่างสงบ และเสรีภาพสื่ออย่างเต็มที่ คุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ออกแผนการระดับชาติเพื่อให้ภาคธุรกิจและบรรษัทคุ้มครองสิิทธิมนุษยชน รวมถึงการกระจายการศึกษา กำจัดความยากจน เข้าถึงสาธารณสุข และคุ้มครองกลุ่มบุคคลเปราะบาง

          อย่างไรก็ดี ยังมีข้อเสนอแนะอีก 68 ข้อ ที่คณะผู้แทนไทยยังตัดสินใจไม่ได้ว่าจะรับไปทำหรือไม่ ส่วนใหญ่เป็นประเด็นเผือกร้อนและเป็นเรื่องสิทธิพลเมือง ที่น่าสนใจ เช่น การไม่นำพลเรือนขึ้นศาลทหาร การแก้ไขหรือยกเลิกคำสั่งคสช. ต่างๆ โดยเฉพาะคำสั่งที่ 3/2558 และ 13/2559 การทบทวนแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพการแสดงออก การยกเลิกการควบคุมตัวโดยพลการหรือมาตรการปรับทัศนคติ การยกเลิกโทษประหารชีวิต และการให้สถานะผู้ลี้ภัย รัฐบาลไทยมีเวลาเหลือน้อยกว่าสี่เดือนในการให้คำตอบก่อนจะถึงวาระการประชุมนัดหน้าที่คณะมนตรีฯ ในเดือนกันยายน

          ผู้เขียนพอจะมีข้อสังเกตดังนี้

ยูพีอาร์คือการเมืองระหว่างประเทศ

          ข้อเสนอแนะจากรัฐบาลประเทศต่างๆที่มีต่อไทย แน่นอนว่าใช้กรอบมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศเป็นตัวตั้ง แต่การสร้างข้อเสนอแนะต่างๆอยู่บนพื้นฐานของการเมืองระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ ผลประโยชน์ และยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศของรัฐบาลต่างๆที่มีต่อไทยทั้งในทางการเมืองและเศรษฐกิจ สมดุลอำนาจ รวมถึงจุดยืนทางการเมืองระหว่างประเทศและประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศนั้นๆเอง เป็นเวทีที่น่าสนใจสำหรับศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่างๆที่มีต่อไทย

          เมื่อกวาดตาในภาพรวม เราพอจะเห็นบล็อกของกลุ่มประเทศต่างๆ ต่อจุดยืนทางการเมืองและสิทธิมนุษยชนที่มีต่อความสัมพันธ์กับไทย เช่น กลุ่มประเทศตะวันตก โดยเฉพาะประเทศเครือสหภาพยุโรปและสหรัฐฯ ที่แน่นอนว่ามาพร้อมกับข้อเสนอแนะที่เข้มข้น โดยเฉพาะเรื่องสิทธิพลเมืองภายใต้รัฐบาลทหาร กลุ่มประเทศอาเซียนและเอเชียที่ให้ข้อเสนอแนะด้านสิทธิทางเศรษฐกิจและสังคม และไม่ก้าวก่ายเรื่องสิทธิพลเมืองมาก ยกเว้นบางประเทศ เช่น ญี่ปุ่นหรือเกาหลีใต้ แน่นอนว่าส่วนหนึ่งมาจากความสามารถในการทำงานสร้างความสัมพันธ์ของสถานทูตไทย แต่ที่ผู้เขียนสนใจคือกลุ่มประเทศแอฟริกา เช่น คองโก เซียร์ร่าลีโอน หรือบอตสวานา และกลุ่มประเทศละตินอเมริกา เช่น คอสตาริกา ชิลี หรือโคลอมเบีย ที่ให้ข้อเสนอแนะที่เข้มข้นในเรื่องสิทธิพลเมือง โดยเฉพาะการคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกและเสรีภาพสื่อ แสดงถึงการที่กลุ่มประเทศเหล่านี้ให้ความสำคัญกับสถานการณ์ภายใต้รัฐบาลทหารของไทย ที่มาจากพื้นฐานทางการเมืองของประเทศเหล่านี้เอง และระดับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย

คำมั่นสัญญาที่จะคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกและการทรมาน

          หลายประเทศในเวทีคณะมนตรีฯ อาทิ ออสเตรีย เกาหลีใต้ และสาธารณรัฐเชค แสดงความกังวลเรื่องบรรยากาศเสรีภาพการแสดงออกก่อนการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญที่จะมีขึ้นในเดือนสิงหาคม และการข่มขู่และคุกคามนักกิจกรรม นักปกป้องสิทธิมนุษยชน และนักข่าว สิ่งที่เกิดขึ้นคือ คณะผู้แทนไทยตอบรับข้อเสนอแนะที่มาจากมากกว่า 10 ประเทศ ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิที่จะเสรีภาพในการแสดงออก การแสดงความคิดเห็น และเปิดเสรีภาพการดีเบทโต้เถียงในบรรยากาศก่อนการลงประชามติ รวมถึงในช่วงสี่ปีครึ่งนับจากนี้จนถึงยูพีอาร์รอบหน้า นับเป็นการแสดงคำมั่นสัญญาของรัฐบาลไทยต่อประชาคมระหว่างประเทศที่จะคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกของประชาชนไทย ซึ่งข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องต้องทำงานกับหน่วยงานและเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย เพื่อแสดงให้เป็นที่ประจักษ์ต่อประชาคมระหว่างประเทศถึงคำมั่นสัญญาของคณะผู้แทน

          อย่างไรก็ดี ยังมีข้อเสนอแนะเป็นจำนวนมากในเรื่องสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการแสดงออกที่ยังรอการตัดสินใจจากรัฐบาลไทย เช่น ข้อเสนอจากเยอรมัน ไอซ์แลนด์ ลัตเวีย สวีเดน หรือสเปน ในเรื่องการปรับแก้ไขกฎหมายภายในที่ยังไม่เป็นไปตามพันธกรณีสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่ไทยเป็นรัฐภาคี โดยเฉพาะการแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการหมิ่่นประมาทที่นำไปสู่โทษอาญา เช่น มาตรา112 (หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ) 116 (ยุยงปลุกปั่น) 326 และ 328ของประมวลกฎหมายอาญา และพรบ. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกฎหมายเหล่านี้มีความเสี่ยงที่อาจถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือ เพื่อคุกคามหรือหยุดยั้งนักกิจกรรม นักปกป้องสิทธิมนุษยชน และกลุ่มบุคคลที่เห็นต่างจากรัฐบาล แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชันแนลเองเรียกร้องให้ไทยยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายที่ว่าด้วยการหมิ่นประมาทดังกล่าวที่ไม่ควรเป็นโทษอาญา

          เป็นที่แน่นอนว่า หากไทยประกาศไม่รับข้อเสนอแนะที่ยังเหลือว่าด้วยการแก้ไขกฎหมายดังกล่าวที่ไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการแสดงออก ย่อมทำให้ข้อเสนอแนะที่ไทยประกาศรับไปแล้วในเรื่องการคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกและเสรีภาพสื่อก่อนหน้า ไม่สอดคล้องและไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

          อย่างไรก็ดี การที่เจ้าหน้าที่จากกระทรวงยุติธรรมได้กล่าวถ้อยแถลงในที่ประชุมคณะมนตรีฯ ว่าไทยตั้งใจที่จะผ่านร่างพรบ.ปราบปรามการทรมานและอุ้มหาย เป็นสิ่งที่ช่วยสร้างสมดุลในทางสร้างสรรค์แก่คณะผู้แทนไทย และเป็นไปตามข้อเสนอแนะจากหลายประเทศในเรื่องการปราบปรามการทรมาน อย่างไรก็ดี ร่างพรบ.ฉบับดังกล่าวในปัจจุบันขณะที่บทความนี้กำลังร่าง (15 พฤษภาคม) ยังไม่ผ่านการตัดสินใจของคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และองค์ประกอบของคณะกรรมการฯที่ร่างพรบ.นี้จัดตั้งขึ้นเพื่อตรวจสอบและสอบสวนการทรมาน ยังไม่มีความเป็นกลางและเป็นอิสระตามที่อนุสัญญาต่อต้านการทรมานระบุข้อกำหนดไว้

ยูพีอาร์เป็นกลไกยูเอ็นแต่ขับเคลื่อนด้วยประชาชนในประเทศ

          แน่นอนว่ายูพีอาร์เป็นกลไกทางการเมืองที่ใช้แรงกดดันจากรัฐสมาชิกยูเอ็นในการให้ข้อเสนอแนะต่างๆแก่รัฐบาลไทย ซึ่งไม่มีผลผูกมัดทางกฎหมายระหว่างประเทศ การที่กลไกที่มีลักษณะการทูตเช่นนี้จะสร้างความเปลี่ยนแปลงในทางรูปธรรมได้ เป็นที่แน่นอนอย่างน้อยสำหรับผู้เขียนว่า ยูพีอาร์ต้องขับเคลื่อนด้วยประชาชนในประเทศเป็นสำคัญ ความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดที่ผู้เขียนสังเกตได้ระหว่างยูพีอาร์รอบที่แล้วเมื่อปี 2555 กับรอบนี้ นอกจากสถานการณ์ทางสิทธิมนุษยชนในไทยที่เปลี่ยนแปลงไปมากแล้ว ในรอบนี้มีคนหลายกลุ่มในประเทศไทยที่ให้ความสนใจยูพีอาร์ อาทิ มีกลุ่มหรือองค์กรในประเทศจัดงานถ่ายทอดสดเวทีคณะมนตรีฯ ในจังหวัดต่างๆ เช่น ปัตตานี เชียงใหม่ และกรุงเทพฯ สื่อมวลชนให้ความสนใจและรายงานความเคลื่อนไหวจากเวทีดังกล่าว ผู้ใช้โซเชียลมีเดียแชร์เรื่องราวให้เพื่อนในโลกออนไลน์อ่าน ปรากฎการณ์เหล่านี้เป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเด่นชัดในยูพีอาร์รอบแรก การดึงกลไกยูเอ็นระดับเจนีวาลงมาสู่ประเทศไทย เป็นกุญแจสำคัญในการทำให้กลไกการทูตเช่นนี้สร้างผลกระทบในทางรูปธรรมได้

          สิ่งที่ประชาชนอย่างผู้เขียนและคุณผู้อ่านทำได้ก่อนคือ ติดตามในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงกันยายนที่จะถึงว่า รัฐบาลไทยจะรับข้อเสนอแนะเพื่มเติมอีก 68 ข้อหรือไม่ ถ้าไม่รับข้อใด รัฐบาลไทยต้องมีคำอธิบายชี้แจงอย่างละเอียดว่าเหตุใดถึงรับไม่ได้ และกำหนดกรอบระยะเวลาในการลงมือปฏิบัติตามข้อเสนอแนะแต่ละข้อ ที่น่าสนใจคือ ข้อเสนอแนะว่าด้วยสิทธิพลเมืองหลายข้อที่ยังเหลือค้างอยู่นั้น หลายข้อไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรทางการเงินเพิ่มเติมอย่างสำคัญ แต่ใช้ความเป็นผู้นำทางการเมืองที่ดีในการตัดสินใจ และใช้ความตั้งใจของเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายที่จะคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่ประชาชนไทย

          โดยคุณสามารถเสิร์ชกูเกิ้ลได้นับแต่ตอนนี้ ลงคีย์เวิร์ด "UPR Thailand" เลือกลิ้งก์ที่ขึ้นเป็นอันดับแรกของ OHCHR (สำนักข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ) เพียงเท่านี้ คุณก็เข้าถึงเอกสารและคลิปวีดีโอที่วีดีโอที่เกี่ยวข้องทุกชิ้นและติดตามกระบวนการยูพีอาร์ได้นับแต่บัดนี้กระบวนการยูพีอาร์ได้นับแต่บัดนี้

          วีดีโอที่เกี่ยวข้องทุกชิ้น และติดตามกระบวนการยูพีอาร์ได้นับแต่บัดนี้




คำมั่นสัญญาของรัฐบาลทรราช คสช.ที่จะคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกของประชาชนไทย แต่……….หลอกลวง

คำมั่นสัญญาของรัฐบาลทรราช คสช.ต่อประชาคมระหว่างประเทศที่จะคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกของประชาชนไทย แต่..........หลอกลวง

------------------------------------------------------------------------------


ยูพีอาร์เป็นกลไกยูเอ็น แต่ขับเคลื่อนด้วยประชาชนในประเทศ

อกนิษฐ์ หอรัตนคุณ
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย
เผยแพร่ครั้งแรกใน "มติชนสุดสัปดาห์" วันที่ 20 พ.ค. 2559

          ผ่านไปแล้วสำหรับเวทีการทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนหรือยูพีอาร์  (UPR – Universal Periodic Review) รอบประเทศไทย โดยรัฐสมาชิกยูเอ็นมากกว่า 100 ประเทศ ที่คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และเมื่อวันศุกร์ที่ 13 พฤษภาคม รัฐบาลไทยได้ตอบรับให้คำมั่นสัญญาว่าจะปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ 181 ข้อ ที่รัฐบาลประเทศอื่นเสนอให้ไทยปฏิบัติตามเพื่อยกระดับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ไทยรับข้อเสนอแนะที่สำคัญ เช่น ผ่านกฎหมายเพื่อปราบปรามการทรมานและอุ้มหาย ให้สัตยาบันอนุสัญญาเลือกรับเรื่องต่อต้านการทรมาน คุ้มครองสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการแสดงออก การชุมนุมอย่างสงบ และเสรีภาพสื่ออย่างเต็มที่ คุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ออกแผนการระดับชาติเพื่อให้ภาคธุรกิจและบรรษัทคุ้มครองสิิทธิมนุษยชน รวมถึงการกระจายการศึกษา กำจัดความยากจน เข้าถึงสาธารณสุข และคุ้มครองกลุ่มบุคคลเปราะบาง

          อย่างไรก็ดี ยังมีข้อเสนอแนะอีก 68 ข้อ ที่คณะผู้แทนไทยยังตัดสินใจไม่ได้ว่าจะรับไปทำหรือไม่ ส่วนใหญ่เป็นประเด็นเผือกร้อนและเป็นเรื่องสิทธิพลเมือง ที่น่าสนใจ เช่น การไม่นำพลเรือนขึ้นศาลทหาร การแก้ไขหรือยกเลิกคำสั่งคสช. ต่างๆ โดยเฉพาะคำสั่งที่ 3/2558 และ 13/2559 การทบทวนแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพการแสดงออก การยกเลิกการควบคุมตัวโดยพลการหรือมาตรการปรับทัศนคติ การยกเลิกโทษประหารชีวิต และการให้สถานะผู้ลี้ภัย รัฐบาลไทยมีเวลาเหลือน้อยกว่าสี่เดือนในการให้คำตอบก่อนจะถึงวาระการประชุมนัดหน้าที่คณะมนตรีฯ ในเดือนกันยายน

          ผู้เขียนพอจะมีข้อสังเกตดังนี้

ยูพีอาร์คือการเมืองระหว่างประเทศ

          ข้อเสนอแนะจากรัฐบาลประเทศต่างๆที่มีต่อไทย แน่นอนว่าใช้กรอบมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศเป็นตัวตั้ง แต่การสร้างข้อเสนอแนะต่างๆอยู่บนพื้นฐานของการเมืองระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ ผลประโยชน์ และยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศของรัฐบาลต่างๆที่มีต่อไทยทั้งในทางการเมืองและเศรษฐกิจ สมดุลอำนาจ รวมถึงจุดยืนทางการเมืองระหว่างประเทศและประวัติศาสตร์การเมืองของประเทศนั้นๆเอง เป็นเวทีที่น่าสนใจสำหรับศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่างๆที่มีต่อไทย

          เมื่อกวาดตาในภาพรวม เราพอจะเห็นบล็อกของกลุ่มประเทศต่างๆ ต่อจุดยืนทางการเมืองและสิทธิมนุษยชนที่มีต่อความสัมพันธ์กับไทย เช่น กลุ่มประเทศตะวันตก โดยเฉพาะประเทศเครือสหภาพยุโรปและสหรัฐฯ ที่แน่นอนว่ามาพร้อมกับข้อเสนอแนะที่เข้มข้น โดยเฉพาะเรื่องสิทธิพลเมืองภายใต้รัฐบาลทหาร กลุ่มประเทศอาเซียนและเอเชียที่ให้ข้อเสนอแนะด้านสิทธิทางเศรษฐกิจและสังคม และไม่ก้าวก่ายเรื่องสิทธิพลเมืองมาก ยกเว้นบางประเทศ เช่น ญี่ปุ่นหรือเกาหลีใต้ แน่นอนว่าส่วนหนึ่งมาจากความสามารถในการทำงานสร้างความสัมพันธ์ของสถานทูตไทย แต่ที่ผู้เขียนสนใจคือกลุ่มประเทศแอฟริกา เช่น คองโก เซียร์ร่าลีโอน หรือบอตสวานา และกลุ่มประเทศละตินอเมริกา เช่น คอสตาริกา ชิลี หรือโคลอมเบีย ที่ให้ข้อเสนอแนะที่เข้มข้นในเรื่องสิทธิพลเมือง โดยเฉพาะการคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกและเสรีภาพสื่อ แสดงถึงการที่กลุ่มประเทศเหล่านี้ให้ความสำคัญกับสถานการณ์ภายใต้รัฐบาลทหารของไทย ที่มาจากพื้นฐานทางการเมืองของประเทศเหล่านี้เอง และระดับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย

คำมั่นสัญญาที่จะคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกและการทรมาน

          หลายประเทศในเวทีคณะมนตรีฯ อาทิ ออสเตรีย เกาหลีใต้ และสาธารณรัฐเชค แสดงความกังวลเรื่องบรรยากาศเสรีภาพการแสดงออกก่อนการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญที่จะมีขึ้นในเดือนสิงหาคม และการข่มขู่และคุกคามนักกิจกรรม นักปกป้องสิทธิมนุษยชน และนักข่าว สิ่งที่เกิดขึ้นคือ คณะผู้แทนไทยตอบรับข้อเสนอแนะที่มาจากมากกว่า 10 ประเทศ ว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิที่จะเสรีภาพในการแสดงออก การแสดงความคิดเห็น และเปิดเสรีภาพการดีเบทโต้เถียงในบรรยากาศก่อนการลงประชามติ รวมถึงในช่วงสี่ปีครึ่งนับจากนี้จนถึงยูพีอาร์รอบหน้า นับเป็นการแสดงคำมั่นสัญญาของรัฐบาลไทยต่อประชาคมระหว่างประเทศที่จะคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกของประชาชนไทย ซึ่งข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องต้องทำงานกับหน่วยงานและเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย เพื่อแสดงให้เป็นที่ประจักษ์ต่อประชาคมระหว่างประเทศถึงคำมั่นสัญญาของคณะผู้แทน

          อย่างไรก็ดี ยังมีข้อเสนอแนะเป็นจำนวนมากในเรื่องสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการแสดงออกที่ยังรอการตัดสินใจจากรัฐบาลไทย เช่น ข้อเสนอจากเยอรมัน ไอซ์แลนด์ ลัตเวีย สวีเดน หรือสเปน ในเรื่องการปรับแก้ไขกฎหมายภายในที่ยังไม่เป็นไปตามพันธกรณีสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่ไทยเป็นรัฐภาคี โดยเฉพาะการแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการหมิ่่นประมาทที่นำไปสู่โทษอาญา เช่น มาตรา112 (หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ) 116 (ยุยงปลุกปั่น) 326 และ 328ของประมวลกฎหมายอาญา และพรบ. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากกฎหมายเหล่านี้มีความเสี่ยงที่อาจถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือ เพื่อคุกคามหรือหยุดยั้งนักกิจกรรม นักปกป้องสิทธิมนุษยชน และกลุ่มบุคคลที่เห็นต่างจากรัฐบาล แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชันแนลเองเรียกร้องให้ไทยยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายที่ว่าด้วยการหมิ่นประมาทดังกล่าวที่ไม่ควรเป็นโทษอาญา

          เป็นที่แน่นอนว่า หากไทยประกาศไม่รับข้อเสนอแนะที่ยังเหลือว่าด้วยการแก้ไขกฎหมายดังกล่าวที่ไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการแสดงออก ย่อมทำให้ข้อเสนอแนะที่ไทยประกาศรับไปแล้วในเรื่องการคุ้มครองเสรีภาพการแสดงออกและเสรีภาพสื่อก่อนหน้า ไม่สอดคล้องและไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

          อย่างไรก็ดี การที่เจ้าหน้าที่จากกระทรวงยุติธรรมได้กล่าวถ้อยแถลงในที่ประชุมคณะมนตรีฯ ว่าไทยตั้งใจที่จะผ่านร่างพรบ.ปราบปรามการทรมานและอุ้มหาย เป็นสิ่งที่ช่วยสร้างสมดุลในทางสร้างสรรค์แก่คณะผู้แทนไทย และเป็นไปตามข้อเสนอแนะจากหลายประเทศในเรื่องการปราบปรามการทรมาน อย่างไรก็ดี ร่างพรบ.ฉบับดังกล่าวในปัจจุบันขณะที่บทความนี้กำลังร่าง (15 พฤษภาคม) ยังไม่ผ่านการตัดสินใจของคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และองค์ประกอบของคณะกรรมการฯที่ร่างพรบ.นี้จัดตั้งขึ้นเพื่อตรวจสอบและสอบสวนการทรมาน ยังไม่มีความเป็นกลางและเป็นอิสระตามที่อนุสัญญาต่อต้านการทรมานระบุข้อกำหนดไว้

ยูพีอาร์เป็นกลไกยูเอ็นแต่ขับเคลื่อนด้วยประชาชนในประเทศ

          แน่นอนว่ายูพีอาร์เป็นกลไกทางการเมืองที่ใช้แรงกดดันจากรัฐสมาชิกยูเอ็นในการให้ข้อเสนอแนะต่างๆแก่รัฐบาลไทย ซึ่งไม่มีผลผูกมัดทางกฎหมายระหว่างประเทศ การที่กลไกที่มีลักษณะการทูตเช่นนี้จะสร้างความเปลี่ยนแปลงในทางรูปธรรมได้ เป็นที่แน่นอนอย่างน้อยสำหรับผู้เขียนว่า ยูพีอาร์ต้องขับเคลื่อนด้วยประชาชนในประเทศเป็นสำคัญ ความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดที่ผู้เขียนสังเกตได้ระหว่างยูพีอาร์รอบที่แล้วเมื่อปี 2555 กับรอบนี้ นอกจากสถานการณ์ทางสิทธิมนุษยชนในไทยที่เปลี่ยนแปลงไปมากแล้ว ในรอบนี้มีคนหลายกลุ่มในประเทศไทยที่ให้ความสนใจยูพีอาร์ อาทิ มีกลุ่มหรือองค์กรในประเทศจัดงานถ่ายทอดสดเวทีคณะมนตรีฯ ในจังหวัดต่างๆ เช่น ปัตตานี เชียงใหม่ และกรุงเทพฯ สื่อมวลชนให้ความสนใจและรายงานความเคลื่อนไหวจากเวทีดังกล่าว ผู้ใช้โซเชียลมีเดียแชร์เรื่องราวให้เพื่อนในโลกออนไลน์อ่าน ปรากฎการณ์เหล่านี้เป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเด่นชัดในยูพีอาร์รอบแรก การดึงกลไกยูเอ็นระดับเจนีวาลงมาสู่ประเทศไทย เป็นกุญแจสำคัญในการทำให้กลไกการทูตเช่นนี้สร้างผลกระทบในทางรูปธรรมได้

          สิ่งที่ประชาชนอย่างผู้เขียนและคุณผู้อ่านทำได้ก่อนคือ ติดตามในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงกันยายนที่จะถึงว่า รัฐบาลไทยจะรับข้อเสนอแนะเพื่มเติมอีก 68 ข้อหรือไม่ ถ้าไม่รับข้อใด รัฐบาลไทยต้องมีคำอธิบายชี้แจงอย่างละเอียดว่าเหตุใดถึงรับไม่ได้ และกำหนดกรอบระยะเวลาในการลงมือปฏิบัติตามข้อเสนอแนะแต่ละข้อ ที่น่าสนใจคือ ข้อเสนอแนะว่าด้วยสิทธิพลเมืองหลายข้อที่ยังเหลือค้างอยู่นั้น หลายข้อไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรทางการเงินเพิ่มเติมอย่างสำคัญ แต่ใช้ความเป็นผู้นำทางการเมืองที่ดีในการตัดสินใจ และใช้ความตั้งใจของเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายที่จะคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่ประชาชนไทย

          โดยคุณสามารถเสิร์ชกูเกิ้ลได้นับแต่ตอนนี้ ลงคีย์เวิร์ด "UPR Thailand" เลือกลิ้งก์ที่ขึ้นเป็นอันดับแรกของ OHCHR (สำนักข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ) เพียงเท่านี้ คุณก็เข้าถึงเอกสารและคลิปวีดีโอที่วีดีโอที่เกี่ยวข้องทุกชิ้นและติดตามกระบวนการยูพีอาร์ได้นับแต่บัดนี้กระบวนการยูพีอาร์ได้นับแต่บัดนี้

          วีดีโอที่เกี่ยวข้องทุกชิ้น และติดตามกระบวนการยูพีอาร์ได้นับแต่บัดนี้




ไอ้ตูบ ประยุทธ์ ตอแหล เศรษฐกิจถือว่าเป็นขึ้นสูงสุดในรอบ 3 ปี

ไอ้ตูบ ประยุทธ์ กล่าวถึงภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันว่า มีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง อัตราการเติบโตเฉพาะไตรมาสแรกของปีนี้อยู่ที่ 3.2% ถือว่าขึ้นสูงสุดในรอบ 3 ปี โว..ทั้งที่เศรษฐกิจโลกก็ยังมีปัญหา 
-

ทั้งเห่าหอน ตามประสาหมาจรจัด ว่า ถ้าย้อนกลับไปช่วงก่อนที่ ทรราช  คสช.เข้ามายึดอำนาจ ทำรัฐประหาร ยังเป็นอัตราติดลบอยู่  ทั้งมโน แสดงว่า รัฐบาลทรราช คสช.กำลังแก้ปัญหาได้ค่อนข้างจะถูกวิธีแล้ว 
-

ไอ้ตูบ ยังโกหก ตอแหล ต่ออีกว่า ถือว่าเป็นข่าวดี โดยเชื่อว่ากลไกประชารัฐเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อน เรื่องนี้ตนเป็นคนสั่งให้เกิดขึ้นมาเอง ทั้งนี้ ภาคธุรกิจขนาดใหญ่ โดยเฉพาะธุรกิจข้ามชาติที่คนมองว่าเอื้อประโยชน์ ซึ่งมันเป็นเรื่องของอดีตที่ผ่านมาก็ว่าไป 
-

วันนี้ต้องนำเขากลับมาเพื่อจะส่งเสริมภาคประชาชนให้ได้ เอาเอกชนนักธุรกิจเข้ามาจัดคณะทำงานแล้วก็มาขับเคลื่อนจะเห็นได้ว่าวันนี้มีการจัดตั้ง บริษัทประชารัฐส่วนกลาง และส่วนประจำพื้นที่ ปีนี้ต้องมีครบทุกจังหวัด เพื่อเป็นช่องทางทางการตลาด แล้วก็การสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาชน แต่ช่วงแรกนี้ภาคธุรกิจเอกชนก็จะมาช่วยให้บริหารในระยะแรกแล้วก็การลงทุนจะเป็นของภาคประชาชน ในสัดส่วนที่เหมาะสม และวันหน้าก็จะถอนตัวออกไป อย่าไปกลัวว่าเขาจะมารวบรวมผลประโยชน์ของประชาชน มาหลอกกันอีก ซึ่งเขาทำไม่ได้ เพราะตนไม่ให้ทำ  ไอ้ตูบเห่า
-

หากเรามาย้อยดู ความฉิบหาย ที่ ทรราช คสช. ได้สร้างไว้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ค่าดำเนินการ หรือค่าที่ปรึกษา ในการซื้ออาวุธ สงคราม จาก รัฐเซีย หรือ รถถังจากจีน ก็ล้วนแล้วแต่ เป็นการโกงชาติ และถือว่าเป็นการ คอรัปชั้น อย่างเห็นได้ชัด ในขณะที่ ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ยังอดยาก อยากจน และไร้ซึ่ง หลักสวัสดิการสังคม ที่ พึงจะได้รับ
-

การโหกหตอแหลของ ไอ้ตูบ ดูเหมือนจะสร้างลอยด่างใว้ให้กับ กองทัพ บก  อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และชาติจะถึงจารึก ความระยำของ ทรราช คสช. อีกนานเท่านาน ถึงแม้ว่า จะมีการปิดกั้น ในข้อมูลข่าวสาร ในการตรวจสอบ แต่ ก็เป็นที่รู้วันว่า ราคาที่ ไอ้ตูบจัดซื้ออาวุธ ด้วยข้ออ้างว่า เรายังผลิตเองไม่ได้ นั้น แพงกว่าท้องตลาดถึง 187 % 
-

หันมามอง ภาวะเศรษฐกิจ ต่ำดิ่งอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน ในรอบ 50 ปี 
-

เรื่องการบริหารเศรษฐกิจของทรราช คสช.เรียกได้ว่า มีอำนาจ และโอกาสในการใช้อำนาจนั้น สร้างสรรค์สิ่งดีงามให้กับประเทศไทย แต่เอาเข้าจริง บริหารแบบ หมาไม่แดก 
-

รัฐบาลทรราช คสช. ใช้เสียงข้างมากในสภาที่มีพฤติกรรมเผด็จการรัฐสภา ใช้อำนาจบาตรใหญ่แก้ไขกฎเกณฑ์ จ้องแก้กฎหมาย แล้วออกนโยบายมาทำลายโครงสร้างเศรษฐกิจหลายๆ เรื่องจนล้มเหลวไม่เป็นท่า
-

ทรราช คสช.ฝ่ายเศรษฐกิจ  มีการออกประกาศฉบับที่ 75/2557 ตั้ง"คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ" หรือ SUPER BOARD ที่จะเข้ามาทำหน้าที่กำกับดูแลรัฐวิสาหกิจไทยทั้ง 56 แห่ง เรื่องนี้รัฐบาลพรรคผสมสามารถทำได้แต่เป็นไปได้ยาก เพราะมีอุปสรรคในการฝ่า"ด่านการเมือง" จนอาจทำให้ความยากนั้นแทบเป็นไปไม่ได้เลย 

   -             
หลายๆอย่างที่ซูเปอร์บอร์ด(บอด)สามารถทำได้เมื่อมีการแต่งตั้งแล้วคือ การมีหลักการบริหารวางรากฐานให้ดี ทบทวนบทบาท"ทุกรัฐวิสาหกิจ" เพราะหลายรัฐวิสาหกิจตั้งขึ้นด้วยพรบ.ที่ล้าสมัย หลายแห่งไม่จำเป็นต้องมีอีกต่อไปแล้ว หลายแห่งต้องปฏิรูป หลายแห่งควรเป็นผู้แข่งขันเต็มตัวกับเอกชน ทั้งนี้ขึ้นกับบทบาทของแต่ละรัฐวิสาหกิจต่อการบริการประชาชน และหลายแห่งไม่ได้มุ่งทำงานตามพันธกิจขององค์กร เอาง่ายๆ ธอส.เน้นสงเคราะห์เรื่องอาคารบ้านเรือนให้ประชาชนจริงหรือไม่ ธนาคารSMEs เน้นให้บริการธุรกิจขนาดเล็กและขนาดย่อมจริงหรือไม่ เหล่านี้ต้องยกเครื่อง

     -           
ประเด็นถัดมาทรราช  คสช.สามารถทำได้เลย แต่เท่าที่ดูมีแนวโน้มว่า จะเกิดขึ้นได้ยากเย็นทีเดียว นั่นคือการปรับ "เพิ่มภาษีนิติบุคคล"
-

อีกประเด็นหนึ่งที่สำคัญที่สุดเพื่อการคืนความสุขให้คนไทยใน "ระยะยาว" นั้นทรราช คสช.จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดการให้มีการเริ่มดำเนินการให้ "กองทุนการออมแห่งชาติ" เริ่มต้นอย่างจริงจังเป็นรูปธรรมเสียที หากแต่ความจริง ทรราช คสช. กลับ มุ่งแสวงหาผลประโยนช์ในคณะตน และ พวกเท่านั้น โดย ปล่อยวาง ประชาชน ที่เป็นคน ส่วนใหญ่ของประเทศ จนหมดสิ้น และใช้ถ้อยคำดูถูก ประชาชนตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ตลอด 2 ปี

   -             
หลายๆ เรื่องต้องยอมรับว่า ประเทศไทยของเราไม่สามารถบริหารงานแผ่นดินแบบเดิมๆ ได้การยกเครื่องเป็นเรื่องสำคัญ ย้ำอีกครั้งว่าไหนๆ ทรราช คสช.มีอำนาจเต็มในการสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ในการบริหารงานเศรษฐกิจให้คนไทยแล้ว อย่าเอาแต่เรื่องครอบครัวของ ๕ณะ ทรราช คสช เท่านั้น  แล้วเอาความสุขให้กลับคืนสู่คนไทยอย่างแท้จริง ไม่ใช่ เอาแต่เงินและยศถาบรรดาศักดิ์ ในกลุ่มก้อนของ ทรราช คสช.เท่านั้น 
-

มาวันนี้ไอ้ตูบ  ยังโกหก ตอแหลหน้าตายอีกว่าเศรษฐกิจดี  แล้วอย่างนี้ ประชาชน ทั้งประเทศจะทนให้ทรราช คสช. กดขี่และข่มเห่งต่อไปได้อย่างไร 

-
เสรีชน


ไอ้ตูบ ประยุทธ์ ตอแหล เศรษฐกิจถือว่าเป็นขึ้นสูงสุดในรอบ 3 ปี

ไอ้ตูบ ประยุทธ์ กล่าวถึงภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันว่า มีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง อัตราการเติบโตเฉพาะไตรมาสแรกของปีนี้อยู่ที่ 3.2% ถือว่าขึ้นสูงสุดในรอบ 3 ปี โว..ทั้งที่เศรษฐกิจโลกก็ยังมีปัญหา 
-

ทั้งเห่าหอน ตามประสาหมาจรจัด ว่า ถ้าย้อนกลับไปช่วงก่อนที่ ทรราช  คสช.เข้ามายึดอำนาจ ทำรัฐประหาร ยังเป็นอัตราติดลบอยู่  ทั้งมโน แสดงว่า รัฐบาลทรราช คสช.กำลังแก้ปัญหาได้ค่อนข้างจะถูกวิธีแล้ว 
-

ไอ้ตูบ ยังโกหก ตอแหล ต่ออีกว่า ถือว่าเป็นข่าวดี โดยเชื่อว่ากลไกประชารัฐเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อน เรื่องนี้ตนเป็นคนสั่งให้เกิดขึ้นมาเอง ทั้งนี้ ภาคธุรกิจขนาดใหญ่ โดยเฉพาะธุรกิจข้ามชาติที่คนมองว่าเอื้อประโยชน์ ซึ่งมันเป็นเรื่องของอดีตที่ผ่านมาก็ว่าไป 
-

วันนี้ต้องนำเขากลับมาเพื่อจะส่งเสริมภาคประชาชนให้ได้ เอาเอกชนนักธุรกิจเข้ามาจัดคณะทำงานแล้วก็มาขับเคลื่อนจะเห็นได้ว่าวันนี้มีการจัดตั้ง บริษัทประชารัฐส่วนกลาง และส่วนประจำพื้นที่ ปีนี้ต้องมีครบทุกจังหวัด เพื่อเป็นช่องทางทางการตลาด แล้วก็การสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาชน แต่ช่วงแรกนี้ภาคธุรกิจเอกชนก็จะมาช่วยให้บริหารในระยะแรกแล้วก็การลงทุนจะเป็นของภาคประชาชน ในสัดส่วนที่เหมาะสม และวันหน้าก็จะถอนตัวออกไป อย่าไปกลัวว่าเขาจะมารวบรวมผลประโยชน์ของประชาชน มาหลอกกันอีก ซึ่งเขาทำไม่ได้ เพราะตนไม่ให้ทำ  ไอ้ตูบเห่า
-

หากเรามาย้อยดู ความฉิบหาย ที่ ทรราช คสช. ได้สร้างไว้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ค่าดำเนินการ หรือค่าที่ปรึกษา ในการซื้ออาวุธ สงคราม จาก รัฐเซีย หรือ รถถังจากจีน ก็ล้วนแล้วแต่ เป็นการโกงชาติ และถือว่าเป็นการ คอรัปชั้น อย่างเห็นได้ชัด ในขณะที่ ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ยังอดยาก อยากจน และไร้ซึ่ง หลักสวัสดิการสังคม ที่ พึงจะได้รับ
-

การโหกหตอแหลของ ไอ้ตูบ ดูเหมือนจะสร้างลอยด่างใว้ให้กับ กองทัพ บก  อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และชาติจะถึงจารึก ความระยำของ ทรราช คสช. อีกนานเท่านาน ถึงแม้ว่า จะมีการปิดกั้น ในข้อมูลข่าวสาร ในการตรวจสอบ แต่ ก็เป็นที่รู้วันว่า ราคาที่ ไอ้ตูบจัดซื้ออาวุธ ด้วยข้ออ้างว่า เรายังผลิตเองไม่ได้ นั้น แพงกว่าท้องตลาดถึง 187 % 
-

หันมามอง ภาวะเศรษฐกิจ ต่ำดิ่งอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน ในรอบ 50 ปี 
-

เรื่องการบริหารเศรษฐกิจของทรราช คสช.เรียกได้ว่า มีอำนาจ และโอกาสในการใช้อำนาจนั้น สร้างสรรค์สิ่งดีงามให้กับประเทศไทย แต่เอาเข้าจริง บริหารแบบ หมาไม่แดก 
-

รัฐบาลทรราช คสช. ใช้เสียงข้างมากในสภาที่มีพฤติกรรมเผด็จการรัฐสภา ใช้อำนาจบาตรใหญ่แก้ไขกฎเกณฑ์ จ้องแก้กฎหมาย แล้วออกนโยบายมาทำลายโครงสร้างเศรษฐกิจหลายๆ เรื่องจนล้มเหลวไม่เป็นท่า
-

ทรราช คสช.ฝ่ายเศรษฐกิจ  มีการออกประกาศฉบับที่ 75/2557 ตั้ง"คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ" หรือ SUPER BOARD ที่จะเข้ามาทำหน้าที่กำกับดูแลรัฐวิสาหกิจไทยทั้ง 56 แห่ง เรื่องนี้รัฐบาลพรรคผสมสามารถทำได้แต่เป็นไปได้ยาก เพราะมีอุปสรรคในการฝ่า"ด่านการเมือง" จนอาจทำให้ความยากนั้นแทบเป็นไปไม่ได้เลย 

   -             
หลายๆอย่างที่ซูเปอร์บอร์ด(บอด)สามารถทำได้เมื่อมีการแต่งตั้งแล้วคือ การมีหลักการบริหารวางรากฐานให้ดี ทบทวนบทบาท"ทุกรัฐวิสาหกิจ" เพราะหลายรัฐวิสาหกิจตั้งขึ้นด้วยพรบ.ที่ล้าสมัย หลายแห่งไม่จำเป็นต้องมีอีกต่อไปแล้ว หลายแห่งต้องปฏิรูป หลายแห่งควรเป็นผู้แข่งขันเต็มตัวกับเอกชน ทั้งนี้ขึ้นกับบทบาทของแต่ละรัฐวิสาหกิจต่อการบริการประชาชน และหลายแห่งไม่ได้มุ่งทำงานตามพันธกิจขององค์กร เอาง่ายๆ ธอส.เน้นสงเคราะห์เรื่องอาคารบ้านเรือนให้ประชาชนจริงหรือไม่ ธนาคารSMEs เน้นให้บริการธุรกิจขนาดเล็กและขนาดย่อมจริงหรือไม่ เหล่านี้ต้องยกเครื่อง

     -           
ประเด็นถัดมาทรราช  คสช.สามารถทำได้เลย แต่เท่าที่ดูมีแนวโน้มว่า จะเกิดขึ้นได้ยากเย็นทีเดียว นั่นคือการปรับ "เพิ่มภาษีนิติบุคคล"
-

อีกประเด็นหนึ่งที่สำคัญที่สุดเพื่อการคืนความสุขให้คนไทยใน "ระยะยาว" นั้นทรราช คสช.จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดการให้มีการเริ่มดำเนินการให้ "กองทุนการออมแห่งชาติ" เริ่มต้นอย่างจริงจังเป็นรูปธรรมเสียที หากแต่ความจริง ทรราช คสช. กลับ มุ่งแสวงหาผลประโยนช์ในคณะตน และ พวกเท่านั้น โดย ปล่อยวาง ประชาชน ที่เป็นคน ส่วนใหญ่ของประเทศ จนหมดสิ้น และใช้ถ้อยคำดูถูก ประชาชนตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ตลอด 2 ปี

   -             
หลายๆ เรื่องต้องยอมรับว่า ประเทศไทยของเราไม่สามารถบริหารงานแผ่นดินแบบเดิมๆ ได้การยกเครื่องเป็นเรื่องสำคัญ ย้ำอีกครั้งว่าไหนๆ ทรราช คสช.มีอำนาจเต็มในการสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ในการบริหารงานเศรษฐกิจให้คนไทยแล้ว อย่าเอาแต่เรื่องครอบครัวของ ๕ณะ ทรราช คสช เท่านั้น  แล้วเอาความสุขให้กลับคืนสู่คนไทยอย่างแท้จริง ไม่ใช่ เอาแต่เงินและยศถาบรรดาศักดิ์ ในกลุ่มก้อนของ ทรราช คสช.เท่านั้น 
-

มาวันนี้ไอ้ตูบ  ยังโกหก ตอแหลหน้าตายอีกว่าเศรษฐกิจดี  แล้วอย่างนี้ ประชาชน ทั้งประเทศจะทนให้ทรราช คสช. กดขี่และข่มเห่งต่อไปได้อย่างไร 

-
เสรีชน


ผู้ต้องหาสังหารหมู่ คนเสื้อแดง 53 ใคร อยู่ตรงไหนในปัจจุบัน???


หลังการสลายชุมนุม นปช คนเสื้อแดง 53 และ'กลุ่มฆาตกรที่ยังลอยนวล' ใครอยู่ตรงไหนในปัจจุบัน...
.
จากเหตุการณ์สลายการชุมนุมเมื่อ 6 ปีที่แล้ว VoiceTV นำเส้นทางชีวิตของบุคคลที่มีบทบาทหลักในช่วงเวลาดังกล่าวมานำเสนอ จากวันนั้นถึงวันนี้พวกเขาอยู่ตรงไหนกันบ้าง
.

เมื่อ 6 ปีที่แล้ว รัฐบาลในขณะนั้น มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะเป็นนายกรัฐมนตรี ผู้ชุมนุมเรียกร้องให้ยุบสภา และจัดการเลือกตั้งใหม่ เพราะเป็นรัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่เขาไม่ได้ทำตามข้อเรียกร้อง และใช้อำนาจนายกรัฐมนตรีขอคืนพื้นที่จากผู้ชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิต 94 ราย บาดเจ็บกว่า 1,500 คน
.
หลังสลายการชุมนุม นายอภิสิทธิ์ยังคงดำรงนายกรัฐมนตรี จนถึงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 หรือหลังสลายการชุมนุมนานกว่า 1 ปี ปีเดียวกัน พรรคประชาธิปัตย์แพ้การเลือกตั้ง นายอภิสิทธิ์เคยเข้าให้กำลังใจกลุ่มผู้ชุมนุม กปปส. ในปี 2557 และปัจจุบันเขายังคงเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (ฆาตกรที่ยังลอยนวล)
.

หนึ่งในกลไกสำคัญในช่วง 6 ปีที่แล้วคือนายสุเทพ เทือกสุบรรณ ขณะนั้นเป็นรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง และผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) หลังแพ้การเลือกตั้งในปี 2554 2 ปีต่อมานายสุเทพลาออกจากการเป็น ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ เป็นแกนนำกลุ่ม กปปส. เต็มตัว คัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม และขัดขวางการเลือกตั้งในปี 2557 จากนั้นจึงบวชเป็นพระที่วัดสวนโมกข์ และก่อตั้งมูลนิธิมวลมหาประชาชนฯ และเป็นประธานในปี 2558 (ฆาตกรที่ยังลอยนวล)
.

ในปฏิบัติการนี้ทหารเป็นกำลังหลัก พลตรีสรรเสริญ แก้วกำเนิด เป็นโฆษกศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) และโฆษก ศอฉ. หลังรัฐประหาร ได้เลื่อนยศเป็นพลตรีและเป็นรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ปีถัดมาได้รับแต่งตั้งเป็นโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (ฆาตกรที่ยังลอยนวล)
.

พลโทดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณนั้น เป็นเลขาธิการ กอ.รมน. เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขาฯ ศอฉ. เป็นรองเสนาธิการทหารบก ได้รับความสนใจจากคำแถลงในปฎิบัติการต่าง ๆ ในช่วงการชุมนุมของคนเสื้อแดง โดยเฉพาะการแถลงข่าวหลังปฎิบัติการขอคืนพื้นที่ที่ระบุว่าใช้ยุทธวิถีแบบสนามรบ เดือนตุลาคม 2553 ได้เลื่อนยศเป็นพลเอก และตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ปีถัดมาขึ้นเป็นรองผู้บัญชาการทหารบก หลังรัฐประหารได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเป็นรัฐมนตรีศึกษาธิการถึงปัจจุบัน (ฆาตกรที่ยังลอยนวล)
.

ขณะที่พลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา เป็นผู้บัญชาการทหารบกในขณะนั้น และเป็นผู้ช่วยผู้อำนวยการคณะกรรมการ ศอฉ. เขาเป็น 1 ใน 3 คนร่วมกับนายอภิสิทธิ์ และนายสุเทพ ที่แกนนำนปช. ขอให้ป.ป.ช.ทบทวนมติถอดถอนคำกล่าวหาปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ สั่งใช้กำลังทหาร ตำรวจ และข้าราชการพลเรือนเข้าสลายการชุมนุม หลังรัฐประหาร พลเอกอนุพงษ์ได้รับการแต่งตั้งเป็นรองประธานที่ปรึกษา คสช. และเป็นรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยจนถึงปัจจุบัน (ฆาตกรที่ยังลอยนวล)
.

ส่วน หัวโจรกบฏ ประยุทธ์ จันทร์โอชานั้น ภายหลังสลายการชุมนุม ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารบกต่อจากพลเอกอนุพงษ์ ที่เกษียณอายุราชการ ซึ่งเป็นช่วงเวลาไล่เลี่ยกับการชุมนุมของกลุ่ม กปปส. 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์เป็นผู้นำในทำการรัฐประหาร ปัจจุบันเป็นนายกรัฐมนตรีเถื่อน หัวหน้ากบฏ คสช. และควบตำแหน่งต่างๆ อีก 14 ตำแหน่งครอบคลุมงานด้านสังคม และเศรษฐกิจหลายด้าน (ฆาตกรที่ยังลอยนวล)
.

ขณะที่ฝ่ายพลเรือน นายจุตพร พรหมพันธุ์ เป็นแกนนำเสื้อแดง นปช. หลังประกาศยุติการชุมนุม เขาและแกนนำนปช. 5 คน เข้ามอบตัวกับที่สำนักงานตำรวจ แห่งชาติ และถูกคุมตัวไปค่ายนเรศวร จังหวัดเพชรบุรี หลังการเลือกตั้งปี 2554 ได้รับเลือกเป็น ส.ส. พรรคเพื่อไทย ปี 2557 รับตำแหน่งประธานนปช. จนถึงปัจจุบัน ขณะนี้เขาและแกนนำนปช. อยู่ระหว่างถูกดำเนินคดีก่อการร้ายจากการชุมนุม
.

เช่นเดียวกับนายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ แกนนำหลักของคนเสื้อแดง นปช. หลังพรรคเพื่อไทยชนะการเลือกตั้งปี 2554 ได้เป็นรัฐมนตรีช่วยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปีถัดมาเป็นรัฐมนตรีช่วยกระทรวงพาณิชย์ ส่วนปี 2557 เป็นเลขาธิการ นปช.จนถึงปัจจุบัน.....
— with Red Thai V2.

ข้อเท็จจริง 10 ประการเกี่ยวกับประเทศไทยสมัยปัจจุบัน แปลจาก Ten facts about modern Thailand by Andrew MacGregor Marshall (แปลโดย Anonymous Lao)

ข้อเท็จจริง 10 ประการเกี่ยวกับประเทศไทยสมัยปัจจุบัน
แปลจาก Ten facts about modern Thailand by Andrew MacGregor Marshall
(แปลโดย Anonymous Lao)

Thai version >>> http://on.fb.me/v0tQbv
English version>>> http://on.fb.me/uAT8zz



ผมได้เขียนรีวิวหนังสือฉบับใหม่ซึ่งเขียนเกี่ยวกับกษัตริย์ของประเทศไทย ได้แก่หนังสือ "King Bhumibol Adulyadej: A Life's Work"
I'm writing a review on the new book about Thailand's king, "King Bhumibol Adulyadej: A Life's Work".


โดยส่วนหนึ่งของรีวิวนั้นผมคิดว่าคงจะเป็นประโยชน์ที่จะลำดับข้อเท็จจริงบางอย่างเกี่ยวกับประเทศไทยที่บรรดาสื่อต่างๆ ปฏิเสธที่จะกล่าวถึง ซึ่งข้อเท็จจริงต่างๆ มีดังนี้
As part of my review I thought it would be useful to make a list of facts about Thailand that the media refuses to acknowledge. Here's the list so far. More suggestions welcome:


1. กษัตริย์ภูมิพลยิงปืนสังหารกษัตริย์อานันทมหิดลพี่ชายของเขาในปีค.ศ.1946 แม้อาจเป็นไปโดยอุบัติเหตุ แต่ข้อเท็จจริงข้อนี้คือสิ่งที่พระราชวังหวาดกลัวการเปิดเผยอย่างที่สุด
1. Bhumibol shot his brother Ananda through the head, probably by accident, in 1946. This fact explains the palace's terror of the truth.


2. ราชวงศ์จักรีของไทย ไม่ได้เป็น "ที่เคารพบูชาในใจคนไทยทุกคน" อีกต่อไป มีคนไทยจำนวนมากหันหลังให้กับความศรัทธาต่อราชวงศ์
2. Thailand's monarchy is no longer "universally revered". A great many Thais have lost faith in the monarchy.


3. การต่อต้านราชวงศ์ เช่นพวก "ตาสว่าง" เป็นความเคลื่อนไหวมวลรวมที่ก่อตัวขึ้นมาแล้วอย่างน้อยสามปี
3. Anti-monarchy "taa sawang" Thais have been a mass movement in Thailand for at least 3 years.


4. กษัตริย์ภูมิพล และราชินีสิริกิติ์ หย่าร้างแยกกันอยู่มานานแล้วตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษ 1980s และทั้งสองเก็บซ่อนความชิงชังต่อกันไว้ข้างใน
4. Bhumibol and Sirikit have been estranged since the mid-1980s. They hate each other.


5. สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ร่ำรวยขึ้นอย่างรวดเร็วและกะทันหัน (อย่างน้อย สี่หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ) แต่มูลค่ามหาศาลนี้เองคือกุญแจสู่การต่อสู้กันเพื่อช่วงชิงการสืบราชสันติวงศ์
5. The Crown Property Bureau has immense wealth (at least $40 billion) and the cash issue is a key factor in the succession battle.


6. พระบรมวงศานุวงศ์นั้นหาได้มีความเป็นเอกภาพเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และมีอย่างน้อยสามฝ่ายที่แข่งขันต่อสู้กันและยังเข้าแทรกแซงการเมืองของประเทศไทยอยู่เสมอ
6. The palace is not a unified entity but at least three competing factions who ceaselessly meddle in Thai politics.


7. ยังมีคนไทยจำนวนมากที่ยังเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่งเกี่ยวกับพระราชวงศ์ และยังมีความรู้สึกสงสารพระเจ้าอยู่หัว ด้วยเหตุนี้เมื่อใดที่กษัตริย์ภูมิพลสวรรคต เกม-โอเวอร์ แน่นอน
7. Most Thais are deeply ambivalent about the monarchy but feel sorry for Bhumibol. When he dies, game over.


8. กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ(lese majeste) และความหวาดกลัวต่อความจริงทำให้ในประเทศไทยหลงเหลือแต่ชนชั้นปกครองที่สติปัญญาแคะแกร็นและไม่เพียงพออย่างยิ่ง
8. The lese majeste law and terror of the truth in Thailand have left the ruling classes intellectually stunted and inadequate.


9. การที่พระราชินีสิริกิติ์ตัดสินใจไปเป็นเจ้าภาพงานศพ "น้องโบว์" ในเดือนตุลาคมปี ค.ศ. 2008 นั้นทำให้เกิดมหัตภัยที่ก่อความพินาศครั้งร้ายแรงต่อราชวงศ์ของไทย
9. Queen Sirikit's decision to preside at Nong Bow's funeral in October 2008 was a massive self-inflicted disaster for the Thai monarchy.


10. การให้สัมภาษณ์อย่างโอเวอร์เกินจริงของเจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ในรายการของนายวู้ดดี้ปีนี้(ค.ศ.2011) เป็นอีกความพินาศที่ส่งครั้งใหญ่ผลต่อราชวงศ์เช่นกัน
10. Chulabhorn's surreal interview with Woody this year was another massive disaster for the Thai monarchy.

2ปี(ไม่)เสียของ

2ปี(ไม่)เสียของ

 

2 ปีการยึดอำนาจของ คสช.จากเป้าหมายที่ประกาศอย่างสวยหรูจะ "ปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง" คืนความสุขให้ประเทศและประชาชน โดยเฉพาะการสร้างประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ แต่วันนี้ดูเหมือนยิ่งเดินยิ่งไกลจากเป้าหมาย โดยเฉพาะการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ ความเหลื่อมล้ำและความแตกแยก  รัฐประหารครั้งนี้ "เสียของ" หรือสอบผ่าน ประชาชนคือผู้ให้คำตอบที่ดีที่สุด

 

 

คนตายที่ไม่ถูกลืม!

 

เหตุการณ์พฤษภาเลือด 2553 ซึ่งมีคนตายถึง 99 ศพและบาดเจ็บพิการเกือบ 2,000 คนผ่านไป 6 ปี ขณะที่วาทกรรม "เผาบ้านเผาเมือง" ยังเป็นวาทกรรมเพื่อสร้างความชอบธรรมให้กับ  "คนสั่ง" และ "คนฆ่า" ที่ยังลอยหน้าเป็นคนดี แต่ญาติพี่น้องผู้สูญเสียและประชาคมโลกไม่มีวันลืม

 

 

คลิกอ่าน "โลกวันนี้รายวัน"

ฉบับล่าสุด ศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม 2559 ได้ที่นี่

 

http://www.lokwannee.com/newspaper/20may2016.pdf

 

ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์

อ่านฟรี "โลกวันนี้รายวัน"

ได้ที่ www.LokWanNee.com

สิ่งที่สังคมพึงปรารถนา คือ "ความเงียบสงบ" มิใช่ "ความเงียบสงัด"

ถึง ผู้อ่านทุกท่าน

หวังว่าเราจะคิดตรงกันว่า 'ความเงียบ' ที่สังคมพึงปรารถนา คือ "ความเงียบสงบ" มิใช่ "ความเงียบสงัด"

ครบรอบ 24 เดือนหลังการรัฐประหาร จึงเป็นอีกวาระหนึ่งที่จะทบทวนบทเรียนจากการบริหารความเงียบและความดังในสังคมนี้ว่า คสช. มีวิธีการรับมือกับประชาชน ที่กำลังรอการคืนความสุขอย่างไร

ที่ผ่านมา แม้จะยกเลิกกฎอัยการศึกมาได้หนึ่งปีเศษ แต่การเปลี่ยนมาใช้อำนาจตามคำสั่งหัวหน้าคสช.ฉบับที่ 3/2558 ที่ออกโดย "มาตรา 44" ไม่ได้เปลี่ยนแปลงหรือบรรเทา การใช้อำนาจเพื่อปราบปรามประชาชนที่ใช้เสรีภาพในการแสดงออก อย่าง การชุมนุม การจัดงานเสวนา หรือแม้แต่การโพสต์สเตตัสเฟซบุ๊ก แต่อย่างใด

ซ้ำร้ายรูปแบบและวิธีการกลับพัฒนาตัวจนเข้มแข็งและเข้มข้นมากขึ้น นับจนถึงวาระ 24 เดือน ทหารวางระบบให้สถาบันของทหารเองมีอำนาจอย่างสมบูรณ์ครบทั้งวงจรของกระบวนการยุติธรรม ตั้งแต่การจับกุม ควบคุมตัว สอบสวน ฟ้องคดี ตัดสินคดี และดูแลเรือนจำ

รายงานฉบับนี้มีความมุ่งหวังว่า สังคมจะได้รู้ ได้เห็น ถึงกลไกที่รัฐใช้เพื่อจำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกอย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะเมื่อรัฐอ้างว่ามันเป็นไปตาม "กระบวนการยุติธรรมปกติ" ส่วนเมื่ออ่านแล้วผู้อ่านแต่ละคนจะเข้าใจและมีความเชื่ออย่างไรก็สุดแล้วแต่จะคิดเห็นไปตามประสบการณ์ของแต่ละคน

ท่านสามารถอ่านบทสรุปรายงาน 24 เดือนคสช.: เมื่ออำนาจทหารอยู่เหนือระบบยุติธรรม ได้ที่ http://goo.gl/JehwFl

หรือ อ่านรายงานแต่ละส่วนได้ที่

http://goo.gl/NLoFsj >> เมื่อทหารทำตัวเป็นตำรวจ

http://goo.gl/30Wn1e >> เมื่อทหารทำตัวเป็นศาลและอัยการ

http://goo.gl/pkA73C >> เมื่อทหารทำตัวเป็นผู้คุม

http://goo.gl/L7Uz4m >> เมื่อทหารทำตัวเป็น "กองเซ็นเซอร์"
และ

http://goo.gl/mHUOZ3 >> เมื่อทหารไม่ได้คืนแต่ "ความสุข"
-

Cr. iLaw


สิ่งที่สังคมพึงปรารถนา คือ "ความเงียบสงบ" มิใช่ "ความเงียบสงัด"

ถึง ผู้อ่านทุกท่าน

หวังว่าเราจะคิดตรงกันว่า 'ความเงียบ' ที่สังคมพึงปรารถนา คือ "ความเงียบสงบ" มิใช่ "ความเงียบสงัด"

ครบรอบ 24 เดือนหลังการรัฐประหาร จึงเป็นอีกวาระหนึ่งที่จะทบทวนบทเรียนจากการบริหารความเงียบและความดังในสังคมนี้ว่า คสช. มีวิธีการรับมือกับประชาชน ที่กำลังรอการคืนความสุขอย่างไร

ที่ผ่านมา แม้จะยกเลิกกฎอัยการศึกมาได้หนึ่งปีเศษ แต่การเปลี่ยนมาใช้อำนาจตามคำสั่งหัวหน้าคสช.ฉบับที่ 3/2558 ที่ออกโดย "มาตรา 44" ไม่ได้เปลี่ยนแปลงหรือบรรเทา การใช้อำนาจเพื่อปราบปรามประชาชนที่ใช้เสรีภาพในการแสดงออก อย่าง การชุมนุม การจัดงานเสวนา หรือแม้แต่การโพสต์สเตตัสเฟซบุ๊ก แต่อย่างใด

ซ้ำร้ายรูปแบบและวิธีการกลับพัฒนาตัวจนเข้มแข็งและเข้มข้นมากขึ้น นับจนถึงวาระ 24 เดือน ทหารวางระบบให้สถาบันของทหารเองมีอำนาจอย่างสมบูรณ์ครบทั้งวงจรของกระบวนการยุติธรรม ตั้งแต่การจับกุม ควบคุมตัว สอบสวน ฟ้องคดี ตัดสินคดี และดูแลเรือนจำ

รายงานฉบับนี้มีความมุ่งหวังว่า สังคมจะได้รู้ ได้เห็น ถึงกลไกที่รัฐใช้เพื่อจำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกอย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะเมื่อรัฐอ้างว่ามันเป็นไปตาม "กระบวนการยุติธรรมปกติ" ส่วนเมื่ออ่านแล้วผู้อ่านแต่ละคนจะเข้าใจและมีความเชื่ออย่างไรก็สุดแล้วแต่จะคิดเห็นไปตามประสบการณ์ของแต่ละคน

ท่านสามารถอ่านบทสรุปรายงาน 24 เดือนคสช.: เมื่ออำนาจทหารอยู่เหนือระบบยุติธรรม ได้ที่ http://goo.gl/JehwFl

หรือ อ่านรายงานแต่ละส่วนได้ที่

http://goo.gl/NLoFsj >> เมื่อทหารทำตัวเป็นตำรวจ

http://goo.gl/30Wn1e >> เมื่อทหารทำตัวเป็นศาลและอัยการ

http://goo.gl/pkA73C >> เมื่อทหารทำตัวเป็นผู้คุม

http://goo.gl/L7Uz4m >> เมื่อทหารทำตัวเป็น "กองเซ็นเซอร์"
และ

http://goo.gl/mHUOZ3 >> เมื่อทหารไม่ได้คืนแต่ "ความสุข"
-

Cr. iLaw


บุญ จะสำเร็จได้ ก็ด้วยมือของพี่น้องและผองเพื่อนทุกท่า่น ครับ

บุญ จะสำเร็จได้ ก็ด้วยมือของพี่น้องและผองเพื่อนทุกท่า่น ครับ 

----------------------------------------------------------------------------

เนื่องด้วยวันวิสาขบูชา เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 มีเหตุการณ์เนื่องด้วยพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้น 3 ประการ คือ เป็นวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ที่ประชุมใหญ่สมัชชาสหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ.2542 ประกาศยกย่องให้วันวิสาขบูชาเป็น วันสำคัญสากลของโลก ในปี พ.ศ.2559 นี้ 

-
วันวิสาขบูชา ตรงกับวันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม วัดพระธรรมกายและกัลยาณมิตรทั่วทั้งโลกจึงจัดงานส่งเสริมพระพุทธศาสนาโดยภาคเช้าเป็นพิธีตักบาตรพระภิกษุสงฆ์ จำนวน 3,000 รูป โดยมีพระครูวินัยธรไพบูลย์ ธัมมวิปุโล ผู้ช่วยเจ้าอวาสวัดพระธรรมกาย เป็นประธานสงฆ์ ภาคสาย พุทธศาสนิกชนสวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและเจริญสมาธิภาวนา ภาคบ่าย เป็นพิธีอุปสมบทอุทิศชีวิตของสามเณร จำนวน 17 รูป ณ อุโบสถ วัดพระธรรมกาย ได้รับความเมตตาจากพระมหาโพธิวงศาจารย์ เจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม (ป.ธ.9, ราชบัณฑิต) เป็นพระอุปัชฌาย์ ภาคค่ำ เป็นพิธีจุดวิสาขะประทีปถวายเป็นพุทธบูชาและเวียนประทักษิณรอบองค์พระประธาน

-
นอกจากนี้ต่างประเทศยังได้จัดกิจกรรมงานวิสาขบูชาเช่นกัน อาทิ 

วัดพระธรรมกายสิงคโปร์ 

วัดพระธรรมกายโตเกียว 

ศูนย์ปฏิบัติธรรมกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย,

วัดพระธรรมกายเมลเบิร์น 

ศูนย์ปฏิบัติธรรมอินโดนีเซีย 

ศูนย์ปฏิบัติธรรมมองโกเลีย 

วัดพระธรรมกายปารีส, 

วัดพระธรรมกายลอนดอน,

วัดพระธรรมกายนิวเจอร์ซี่,

วัดพระธรรมกาย ดี.ซี. 

วัดพระธรรมกายฟลอริดา,

วัดพระธรรมกายแคลิฟอร์เนียร์ เป็นต้น 

-
ที่น่าประทับใจคือรัฐบาลอินโดนีเซียมอบให้สมาคมวาลูบี้องค์กรพุทธในอินโดนีเซียจัดเฉลิมฉลองงานวิสาขบูชาอย่างเป็นทางการที่บุโรพุทโธ ซึ่งศูนย์ปฏิบัติธรรมอินโดนีเซียได้ร่วมกับองค์กรพุทธจัดลอยโคมสันติภาพ 5,000 ดวง รวมถึงจัดธุดงค์ปฏิบัติธรรมรอบมหาเจดีย์บุโรพุทโธระหว่างวันที่ 21-22 พฤษภาคม พ.ศ. 2559นี้ 

-
สำหรับการบวชผู้นำอุบาสิกาแก้ว ฉลองสัปดาห์วันวิสาขบูชา ที่วัดพระธรรมกายระหว่างวันที่ 13 – 20 พฤษภาคมที่ผ่านมาได้รับการตอบรับจากประชาชนดีมาก โดยผู้ที่ผ่านโครงการแล้วจะไปจัดบวชอุบาสิกาแก้ว 1 ล้านคนต่อไป

-
Cr. Matichon




บุญ จะสำเร็จได้ ก็ด้วยมือของพี่น้องและผองเพื่อนทุกท่า่น ครับ

บุญ จะสำเร็จได้ ก็ด้วยมือของพี่น้องและผองเพื่อนทุกท่า่น ครับ 

----------------------------------------------------------------------------

เนื่องด้วยวันวิสาขบูชา เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 มีเหตุการณ์เนื่องด้วยพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้น 3 ประการ คือ เป็นวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ที่ประชุมใหญ่สมัชชาสหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ.2542 ประกาศยกย่องให้วันวิสาขบูชาเป็น วันสำคัญสากลของโลก ในปี พ.ศ.2559 นี้ 

-
วันวิสาขบูชา ตรงกับวันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม วัดพระธรรมกายและกัลยาณมิตรทั่วทั้งโลกจึงจัดงานส่งเสริมพระพุทธศาสนาโดยภาคเช้าเป็นพิธีตักบาตรพระภิกษุสงฆ์ จำนวน 3,000 รูป โดยมีพระครูวินัยธรไพบูลย์ ธัมมวิปุโล ผู้ช่วยเจ้าอวาสวัดพระธรรมกาย เป็นประธานสงฆ์ ภาคสาย พุทธศาสนิกชนสวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและเจริญสมาธิภาวนา ภาคบ่าย เป็นพิธีอุปสมบทอุทิศชีวิตของสามเณร จำนวน 17 รูป ณ อุโบสถ วัดพระธรรมกาย ได้รับความเมตตาจากพระมหาโพธิวงศาจารย์ เจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม (ป.ธ.9, ราชบัณฑิต) เป็นพระอุปัชฌาย์ ภาคค่ำ เป็นพิธีจุดวิสาขะประทีปถวายเป็นพุทธบูชาและเวียนประทักษิณรอบองค์พระประธาน

-
นอกจากนี้ต่างประเทศยังได้จัดกิจกรรมงานวิสาขบูชาเช่นกัน อาทิ 

วัดพระธรรมกายสิงคโปร์ 

วัดพระธรรมกายโตเกียว 

ศูนย์ปฏิบัติธรรมกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย,

วัดพระธรรมกายเมลเบิร์น 

ศูนย์ปฏิบัติธรรมอินโดนีเซีย 

ศูนย์ปฏิบัติธรรมมองโกเลีย 

วัดพระธรรมกายปารีส, 

วัดพระธรรมกายลอนดอน,

วัดพระธรรมกายนิวเจอร์ซี่,

วัดพระธรรมกาย ดี.ซี. 

วัดพระธรรมกายฟลอริดา,

วัดพระธรรมกายแคลิฟอร์เนียร์ เป็นต้น 

-
ที่น่าประทับใจคือรัฐบาลอินโดนีเซียมอบให้สมาคมวาลูบี้องค์กรพุทธในอินโดนีเซียจัดเฉลิมฉลองงานวิสาขบูชาอย่างเป็นทางการที่บุโรพุทโธ ซึ่งศูนย์ปฏิบัติธรรมอินโดนีเซียได้ร่วมกับองค์กรพุทธจัดลอยโคมสันติภาพ 5,000 ดวง รวมถึงจัดธุดงค์ปฏิบัติธรรมรอบมหาเจดีย์บุโรพุทโธระหว่างวันที่ 21-22 พฤษภาคม พ.ศ. 2559นี้ 

-
สำหรับการบวชผู้นำอุบาสิกาแก้ว ฉลองสัปดาห์วันวิสาขบูชา ที่วัดพระธรรมกายระหว่างวันที่ 13 – 20 พฤษภาคมที่ผ่านมาได้รับการตอบรับจากประชาชนดีมาก โดยผู้ที่ผ่านโครงการแล้วจะไปจัดบวชอุบาสิกาแก้ว 1 ล้านคนต่อไป

-
Cr. Matichon




ขอแรงพี่น้อง โปรดร่วมมือรวมใจ กันอีกครั้งเพื่อปกป้องพระศาสนา

อีกครั้ง พี่น้อง โปรด..... ร่วมใจปกป้อง หลวงพ่อ และพระศาสนา
-
สภาพในปัจจุบัน เราท่านก็ได้เห็นกันอยู่เต็มตา ถึง อำนาจของ ทรราช คสช. และเครือข่าย ที่ไม่ใช่มุ่งร้ายต่อแค่ประชาชนภายในชาติเท่านั้น
-
หากแต่ ทรราช คสช. ยังลุแก่อำนาจ หวังที่จะปล้นเงินของวัดพระธรรมกายอีกด้วย หากเราท่านอยู่เฉย ไฉนเลย เราจะมีศาสนาไว้พึ่งพิง
-
ทรราช คสช. มันต้องการแค่เงินบริจาค และเข้ายึด วัด พระธรรมกาย แม้วัด พระธรรมกายจะไม่มีความผิด แต่............ กลุ่มพวกมารศาสนาก็จะยัดข้อหาต่างๆนา ให้จงได้.............. แหละนั้นคือความจริง ที่ ทรราช คสช.3 และเครือข่ายได้ กระทำต่อประชาชน และ วัดพระธรรมกาย
-
เราท่าน สามารถหยุดการกระทำ ของ พวกมารศาสนาเหล่านี้ได้ ด้วยการร่วมลงชื่อ และร้องขอความช่วยเหลือจาก สหรัฐ อเมริกา
-
จงร่วมมือร่วมใจกันปกป้องพระศาสนา และวัดธรรมกาย
-
แค่ ลงชื่อและนามสกุล พร้อม Emailเท่านั้น เราท่านก็สามารถ หยุดความชั่วของ เหล่า ทรราช คสช. ได้แล้ว สำหรับช่องนี้
-
ตามรายละเอียดดั่งต่อไปนี้
-
เสรีชน


Needs 97,770 signatures by June 17, 2016 to get a response from the White House USA
*****************************************
Please share widely!!! ช่วยกันลงชื่อและส่งต่อให้มากที่สุด

Please sign this White House Petition to help Ven. Dhammajayo asap! If we get 100,000 signatures by June 17, President Obama and his administration will personally respond! Please verify your signature via email as well.

ขอเชิญลงชื่อในคำร้องของทำเนียบขาวเพื่อช่วยหลวงพ่อธัมมชโยค่ะ ถ้ามีคนลงชื่อถึง 100,000 คน ภายในวันอาทิตย์ที่ 17 เดือนมิถุนายน ท่านประธานาธิปดีโอบามาและคณะจะมาพิจารณาโดยตัวท่านเองค่ะ ตอนนี้ต้องการรายเซ็น 100,000 ชื่อ โดยเร็วที่สุด (กรุณายืนยันรายเซ็นทางอีเมลด้วยค่ะ) มาช่วยหลวงพ่อกันนะคะ ขออนุโมทนาบุญกับลูกหลวงพ่อทุกๆท่าน

โครงสร้างอำนาจที่ปกป้องคนผิดให้ลอยนวล (ตอนที่ 1)

โครงสร้างอำนาจที่ปกป้องคนผิดให้ลอยนวล  (ตอนที่ 1)

-
Thu, 2016-05-19 23:50

-
19-22 พฤษภาคม 2559 เป็นห้วงเวลาที่คาบเกี่ยวกันระหว่างการครบรอบ 6 ปีเหตุการณ์สลายการชุมนุมของคนเสื้อแดงในปี 2553 และครบรอบ 2 ปีการรัฐประหาร 2557 เรายังเห็นตัวละครมากหน้าหลายตาที่เกี่ยวพันกับการสลายการชุมนุมยังคงโลดแล่นบนเวทีการเมืองในบทบาทต่างๆ โดยที่มลทินจากอดีตไม่ส่งผลใดๆ และมือของกระบวนการยุติธรรมก็เอื้อมไปไม่ถึง
-
อันที่จริงไม่ใช่แค่เหตุการณ์ปี 2553 แต่ก็ทุกๆ เหตุการณ์รุนแรงทางการเมืองตั้งแต่ 6 ตุลาคม 2519 นั่นแหละ สิ่งนี้คือวัฒนธรรมที่ฝังลึกอยู่ในสังคมไทย 'วัฒนธรรมการพ้นผิดลอยนวล' (Impunity) ที่ผู้มีอำนาจไม่เคยต้องรับผิดชอบใดๆ ต่อความรุนแรงที่กระทำต่อประชาชน เพราะมีโครงสร้างอำนาจคอยโอบเอื้อให้สิ่งนี้คงอยู่
-
รศ.พวงทอง ภวัครพันธุ์ จากภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้ประสานงานศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายกาารชุมนุม เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.) คือผู้ที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการผลักดันให้มีการดำเนินคดีกับผู้สั่งการในกรณีพฤษภาคม 2553 และกรณีอื่นๆ
-
บทสนทนาต่อไปนี้จะฉายภาพให้เห็นว่า มีความพิกลพิการใดที่ทำให้ความยุติธรรมไม่เคยเกิดขึ้นในสังคมไทย
-
อาจารย์มาสนใจประเด็นการนำผู้สั่งการให้เกิดความรุนแรงกับประชาชนได้อย่างไร

พวงทอง: เราก็สนใจในฐานะนักศึกษาธรรมศาสตร์และนักกิจกรรม ตอนเป็นเด็กกิจกรรมก็ต้องจัดนิทรรศการ 6 ตุลาทุกปี เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เรารับรู้ประวัติศาสตร์การเมืองของไทยว่าคืออะไร ตอนปี 2535 ก็เป็นช่วงที่อยู่ในกลุ่มผู้ประท้วงด้วย แต่เป็นช่วงที่กำลังเรียนปริญญาเอกอยู่ แต่ช่วงเหตุการณ์อยู่เมืองไทย พอหลังเกิดเหตุการณ์ไม่นานก็กลับไปเรียนหนังสือต่อ ก็ไม่ได้เกี่ยวข้องกับกระบวนการค้นหาความจริงเท่าไหร่ แต่มาแอคทีฟตอนกลับมาเป็นอาจารย์และเกิดเหตุการณ์ปี 2553 แต่ก็เป็นความรับรู้มาตลอดว่าสังคมไทย ผู้มีอำนาจทำผิดแล้วไม่ต้องรับผิด ซึ่งเราก็รู้สึกได้เวลาที่เจอพวกญาติๆ คนเป็นพ่อเป็นแม่ แล้วก็เป็นความสนใจทางวิชาการด้วยที่เราสนใจเรื่องความรุนแรง

-
ความรู้สึกว่ามันไม่แฟร์ มันเยอะ คุณอยู่ในประเทศนี้ ถ้าคุณสนใจการเมือง คุณจะรู้สึกว่ามีสิ่งที่ไม่ยุติธรรมเยอะมากๆ ในทุกระดับ ไม่ใช่แค่การเมืองส่วนกลาง คุณแตะไปตรงไหน คุณจะเจอปัญหาเรื่องความยุติธรรมเต็มไปหมด ความยุติธรรมที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมด้วย ที่เกี่ยวกับกระบวนการทางการเมืองด้วย

-
การจะเอาชนชั้นที่กระทำผิดเข้าคุกได้ สังคมโดยรวมต้องมองประเด็นนี้ใหม่ด้วย ซึ่งก็เกี่ยวข้องกับข้อมูล บางทีก็เป็นข้อมูลพื้นๆ ที่เกิดขึ้นเท่านั้นเอง อย่างกรณีอาร์เจนตินา เขาใช้เวลาต่อสู้ 30 ปีกว่าจะนำพวกผู้นำทหารที่เกี่ยวข้องกับการอุ้มหายคนเกือบ 30,000 คนมาลงโทษได้ ตอนแรกคนก็ไม่สนใจ พวกแม่ก็ประท้วงทุกวันพฤหัสบดี ตอนบ่าย ตรงจตุรัสของเมือง พอรัฐบาลทหารลงจากอำนาจก็มีการนิรโทษกรรมโดยรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง เพราะรู้สึกว่าต้องประนีประนอมกับทหาร กลัวทหารจะยึดอำนาจอีก

-
คุณอยู่ในประเทศนี้ ถ้าคุณสนใจการเมือง คุณจะรู้สึกว่ามีสิ่งที่ไม่ยุติธรรมเยอะมากๆ ในทุกระดับไม่ใช่แค่การเมืองส่วนกลาง คุณแตะไปตรงไหน คุณจะเจอปัญหาเรื่องความยุติธรรมเต็มไปหมด

-
แต่ช่วงของการต่อสู้ มีการเปิดเผยข้อมูลมากขึ้นๆ เรื่อยๆ ว่าเขาทำอะไรบ้างกับคนที่หายไป วันหนึ่งนายทหารคนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการเอาศพคนที่ยังไม่เสียชีวิตไปโยนทิ้งกลางทะเลก็ออกมา นี่เป็นวิธีหนึ่งที่อาร์เจนตินาทำ ก็คือคุณจับเขาไปขัง ทรมาน ซ้อม รีดข้อมูล เสร็จแล้วก็ฉีดยา ถอดเสื้อผ้าหมด พาขึ้นเฮลิคอปเตอร์ไปโยนทิ้งกลางทะเล ซึ่งมีศพเป็นร้อยลอยมาเกยตื้นตามชายฝั่งของประเทศอาร์เจนตินาและประเทศเพื่อนบ้าน พิสูจน์ศพแล้วพบว่าตกลงมาจากที่สูง ทหารคนนี้ที่เกี่ยวข้องก็ทนไม่ได้หลังจากผ่านมา 20 ปี เขาฝันร้ายตลอดเวลา เพราะคนที่เขาทิ้งไปยังไม่ตาย บางคนก็สลึมสะลือ มันก็หลอนเขา ก็เกิดการรื้อฟื้นใหม่

-
บางทีข้อมูลพื้นๆ ที่ทำให้เห็นว่ามันโหดร้ายขนาดนี้ มันช็อกคน คนส่วนใหญ่ไม่ได้อยากรู้เรื่องราวความโหดร้าย แต่คนเหมือนถูกมอมยา อยากเชื่อว่าสังคมตัวเองดี แต่วันหนึ่งที่ข้อมูลถูกเปิดเผยมากขึ้น คนก็รู้สึกว่าการทำแบบนี้มันไม่ถูก อีกอย่างก็คือทหารหมดอำนาจ มีการขุดคุ้ยข้อมูลการคอร์รัปชั่น ความไม่โปร่งใส การเล่นพรรคเล่นพวก นำไปสู่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ หรือแม้แต่การตัดสินใจผิดที่ทำสงครามหมู่เกาะฟอล์คแลนด์กับอังกฤษ คนก็ไม่พอใจรัฐบาลทหารมาก หมายความว่ามันเกิดการเปลี่ยนแปลงระดับโครงสร้างด้วย ไม่ใช่แค่เรื่องใดเรื่องหนึ่งหรืออาจจะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วไปกระทบส่วนอื่นๆ ด้วย

-
ในสังคมไทย วัฒนธรรมการพ้นผิดลอยนวลไม่ใช่แค่คนระดับอีลีท แต่มันแพร่กระจายไปในทุกระดับ เช่น ถ้าคุณถูกใบสั่ง คุณก็อาจให้เพื่อนช่วย ไม่ยอมเสียเงิน

พวงทอง: การทำแบบนี้ได้ทั้งในระดับล่างและระดับบน มันสะท้อนความเป็นเครือข่ายอุปถัมภ์ สังคมนี้เป็นสังคมที่ใช้เส้นสายเยอะมากๆ แม้กระทั่งการไม่ต้องรับผิดก็เกี่ยวข้องกับระบบเส้นสาย แต่เป็นเส้นสายที่ใหญ่มากๆ เป็นเรื่องโครงสร้างอำนาจ

-
การนำคนมารับผิด การนิรโทษกรรม การปรองดอง ต่างก็มีความเกี่ยวพันกัน มีผลต่อกันเวลาปฏิบัติ เช่น จะปรองดองก็ต้องนิรโทษ ไม่เอาผิด หรือถ้าจะเอาผิดก็กลัวว่าจะไม่เกิดความปรองดอง เป็นความเกี่ยวโยงที่ซับซ้อนและเหมือนจะปะทะขัดแย้งกันอยู่ในตัว

พวงทอง: ดิฉันคิดว่าคนไทยเวลามองเรื่องปรองดองเป็นการมองที่คับแคบ คิดว่าการปรองดองคือการที่ไม่ต้องรื้อฟื้นสิ่งที่เกิดขึ้น ยอมๆ กันไป อโหสิกรรมไป เพราะถ้ายิ่งไปติดตามเอาผิดกับคนที่ทำผิดจะยิ่งเกิดความขัดแย้งรุนแรงมากขึ้น เพราะคนที่ใช้ความรุนแรงนั้นมีเครือข่ายของตัวเอง ยังมีอำนาจอยู่ และแทนที่จะลงจากอำนาจ สมมติกรณีที่ทหารทำผิดแล้วพ่ายแพ้ในทางการเมือง ยอมลงจากอำนาจ ถ้าคุณไปเอาผิดเขา ในที่สุดเครือข่ายของเขาอาจจะไม่ยอม กลับมายึดอำนาจ นี่คือสิ่งที่สังคมไทยทำมาตลอด

แล้วคนที่มักจะเน้นย้ำประเด็นนี้คือคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้ความรุนแรงกับประชาชน อย่างกรณี 6 ตุลา คุณจะเห็นว่าส่วนใหญ่เป็นชนชั้นนำฝ่ายขวาที่บอกให้ลืมๆ กันไป อย่าไปรื้อฟื้น อย่าไปขุดคุ้ย เรื่องมันผ่านมานานแล้ว ซึ่งเท่ากับเป็นการปกป้องตัวเอง การพูดแบบนี้ คนไทยบอกว่านี่คือการปรองดอง แต่สำหรับดิฉันนี่คือการลงโทษเหยื่อซ้ำสอง เหยื่อในที่นี้ ไม่ใช่แค่ผู้ที่เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ แต่ต้องรวมญาติของเขาด้วย แล้วเขาต้องทนทุกข์อีกยาวนานหลายปี ญาติคน 6 ตุลา หลายคนยังเจ็บปวดอยู่เลยทั้งที่ผ่านมา 40 ปีแล้ว เขายังเจ็บปวดกับความยุติธรรมที่เขาไม่ได้รับ เท่ากับเขาโดนซ้ำสอง นอกจากสูญเสียคนที่เขารักแล้ว เขายังต้องก้มหน้ายอมจำนนกับความอยุติธรรมนี้อีก ดิฉันไม่ได้มองว่านี่คือการปรองดอง แต่เป็นการเหยีบย่ำเหยื่อครั้งที่สอง

การทำแบบนี้จะเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้มีอำนาจในอนาคตไม่รู้สึกกลัวว่าจะต้องรับผิด แล้วก็จะทำอาชญากรรมกับประชาชนอย่างกว้างขวางได้อีก เพราะเชื่อว่าถึงที่สุดแล้ว วัฒนธรรมปรองดองแบบไทยๆ จะช่วยปกป้องคุ้มครองเขา และเขาก็เชื่อว่าเครือข่ายซึ่งอาจจะอยู่นอกเหนือตัวรัฐบาล นอกเหนือจากกองทัพ องค์กรทั้งหลายแหล่ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมก็จะช่วยปกป้องเขาด้วย ดิฉันจึงมองไม่เห็นว่าวิธีการแบบนี้จะทำให้สังคมไทยหลุดพ้นจากการที่รัฐใช้อำนาจปราบปรามประชาชนตามอำเภอใจได้อย่างไร ดิฉันเชื่อว่าเหตุการณ์แบบนี้จะเกิดขึ้นอีก ตราบใดที่เราไม่สามารถจะเอาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ความรุนแรงมาลงโทษได้

-
ทีนี้ เวลาที่เราพูดถึงการลงโทษ ดิฉันไม่ได้คิดว่าจะต้องเป็นการลงโทษด้วยวิธีการเดียวเท่านั้น คือดิฉันก็ยังรู้สึกว่า โอเคล่ะ การปรองดองก็มีระดับหนึ่งที่จะต้องผ่อนปรนกันบ้าง ยืดหยุ่นกันบ้าง แต่มีหลักบางหลักที่ยืดหยุ่นไม่ได้ คือหลักที่คุณทำผิดแล้วต้องรับผิด แต่ว่าจะลงโทษหนักเบาอย่างไร ตรงนี้ถ้าคำนึงถึงการปรองดองก็อาจจะลดโทษของเขาลง สำหรับดิฉัน การปรองดองที่ดิฉันยอมได้คือต้องมีการดำเนินคดีอาญาที่โปร่งใส่ ทุกส่วน ไม่ว่าคุณจะเป็นจำเลยหรือโจทก์ ก็ต้องเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมที่เป็นกลางและโปร่งใส และทำให้ประชาชนเห็นว่าคนที่ทำผิดนั้นทำผิดอย่างไร ต้องมีการตัดสินว่าทำผิด หลังจากนั้นถ้าสังคมรู้สึกว่าถ้าลงโทษเขาแรงจะนำไปสู่ความขัดแย้ง คุณก็อาจลดโทษ ผ่อนผัน จากจำคุกตลอดชีวิตเป็นขังไว้ในบ้านตลอดชีวิตก็ได้

-
การผ่อนปรนคือลักษณะนี้ แต่อย่างน้อยที่สุดต้องหาให้ได้ว่าใครเป็นคนทำและทำให้คนที่ทำผิดนั้นยอมรับว่าตัวเองกระทำผิด

-
อย่าไปรื้อฟื้น อย่าไปขุดคุ้ย เรื่องมันผ่านมานานแล้ว...การพูดแบบนี้ คนไทยบอกว่านี่คือการปรองดอง แต่สำหรับดิฉันนี่คือการลงโทษเหยื่อซ้ำสอง เหยื่อในที่นี้ ไม่ใช่แค่ผู้ที่เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ แต่ต้องรวมญาติของเขาด้วย...ญาติคน 6 ตุลา หลายคนยังเจ็บปวดอยู่เลยทั้งที่ผ่านมา 40 ปีแล้ว เขายังเจ็บปวดกับความยุติธรรมที่เขาไม่ได้รับ

-
นิรโทษกรรมเหมาเข่งที่ผ่านมาคงเป็นตัวอย่างหนึ่งของวัฒนธรรมพ้นผิดลอยนวล แต่การนิรโทษกรรมก็นับว่าเป็นกระบวนการที่หลายฝ่ายเรียกร้อง คำถามคือเราจะนิรโทษกรรมอย่างไรที่จะไม่ส่งเสริมการพ้นผิดลอยนวล

-
พวงทอง: กรณี พ.ร.บ.เหมาเข่ง ตอนนั้นดิฉันก็ออกมาประณามพรรคเพื่อไทยด้วยว่าสิ่งที่เขาทำเป็นการทรยศต่อประชาชน จนป่านนี้พรรคเพื่อไทยก็ยังไม่ออกมาขอโทษเลย ดิฉันเชื่อว่าประชาชน โดยเฉพาะญาติของผู้ที่สูญเสียรอคำขอโทษนี้อยู่ ถ้าคุณไม่ขอโทษ นี่จะเป็นตราบาปที่ติดตัวบรรดา ส.ส. ที่โหวตให้ พ.ร.บ.เหมาเข่งผ่าน

-
มันมีอยู่สองส่วน โดยใจจริงดิฉันแล้ว ในช่วงที่ผ่านมาเมื่อกลับมาทบทวนเกี่ยวกับการนิรโทษกรรม ดิฉันก็ไม่ค่อยเห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมอย่างเท่าเทียมกันทุกฝ่าย ในส่วนของแกนนำ ผู้นำที่เกี่ยวข้อง ดิฉันไม่เห็นด้วยอยู่แล้วที่ให้นิรโทษกรรม แม้กระทั่งในส่วนของประชาชนเอง การนิรโทษกรรมทุกคนโดยไม่ต้องพิจารณาว่าใครทำอะไรผิดมากน้อยอย่างไร ก็เป็นสิ่งที่ไม่ถูกเหมือนกัน

-
ดิฉันเห็นด้วยกับข้อเสนอของกลุ่มนิติราษฎร์ที่ให้มีการตั้งคณะตุลาการพิเศษขึ้นมาเพื่อพิจารณาคดีความทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับประชาชน แล้วดูว่าคดีไหนที่อ่อนมากๆ มีเหตุจูงใจทางการเมือง หลักฐานมีปัญหา ซึ่งดิฉันมองว่าหลักฐานในคดีที่เกี่ยวข้องกับประชาชนทั่วไปมีปัญหาเยอะมากๆ คนเหล่านี้สมควรได้รับการนิรโทษกรรม โดยเฉพาะคนที่ทำผิด พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ไปร่วมชุมนุม หรือถูกจับในเวลากลางคืน แล้วก็ถูกศาลตัดสิน หกเดือนบ้าง ปีหนึ่งบ้าง บางคนรอลงอาญาบ้าง คนเหล่านี้แม้จะหลุดออกจากคุกมาแล้วก็สมควรจะได้รับนิรโทษกรรม ความผิดที่ติดอยู่ในประวัติของเขาควรต้องถูกลบล้างออกไป เพราะคนเหล่านี้จะไม่สามารถรับราชการได้ถ้ามีคดีอาญาติดตัว

-
สอง-คนที่ยังติดคุกอยู่ในคดีอาญาข้อหาร้ายแรง กลุ่มของ ศปช. (ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายกาารชุมนุม เม.ย.-พ.ค. 53) ที่ทำรายงานเกี่ยวกับเหตุการณ์ปี 2553 เราก็พบว่ามีหลายกรณีที่หลักฐานอ่อน มีปัญหามาก เช่นกรณีหนึ่งเจ้าหน้าที่ของ กอ.รมน. (กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน) ยืนยันว่าตัวเขากับนายคนนี้เข้าไปร่วมกันดับไฟ แต่คนที่ว่าก็ถูกตัดสินจำคุก 34 ปี คนจำนวนมากที่ถูกข้อหาเผาศาลากลาง มันไม่ได้มีหลักฐานชัดเจนว่าเขาเป็นคนเผา แต่เขาอยู่ในบริเวณศาลากลาง มันมาจากรูปถ่ายเท่านั้นเอง เพราะฉะนั้นเมื่อพิจารณาแต่ละกรณีจะเห็นว่ามีหลายกรณีที่หลักฐานอ่อนมากๆ คนเหล่านี้สมควรได้รับการนิรโทษกรรม

-
แต่ถ้าในกรณีที่มีหลักฐานชัดเจน จะมากจะน้อย คนเหล่านั้นก็ต้องรับผิดชอบ เพราะนี่จะเป็นบทเรียนในอนาคตว่า ประชาชนเองก็ไม่สามารถใช้ความรุนแรงได้ง่ายๆ อีกต่อไป แต่ปัญหาก็คือว่าในกรณีของไทยที่ผ่านมา เวลานิรโทษกรรม เขานิรโทษกรรมให้กับคนมีอำนาจมากกว่า แล้วประชาชนก็ได้รับผลพลอยได้ไปด้วย คราวนี้ในกรณีเสื้อแดง ปี 2553 สิ่งที่เราเห็นคือประชาชนถูกลงโทษไปแล้ว ถูกตัดสินจำคุกไปเยอะมาก กรณี พ.ร.ก.ฉุกเฉิน นี่หลายร้อยรายเลย แล้วกรณีคดีอาญาร้ายแรงอย่างเผาศาลากลางก็ติดคุกไปแล้ว

-
กรณี พ.ร.บ.เหมาเข่ง ตอนนั้นดิฉันก็ออกมาประณามพรรคเพื่อไทยด้วยว่าสิ่งที่เขาทำเป็นการทรยศต่อประชาชน จนป่านนี้พรรคเพื่อไทยก็ยังไม่ออกมาขอโทษเลย

-
หรือแม้กระทั่งกรณีเผาเซ็นทรัลเวิร์ลที่เชื่อว่าเป็นฝีมือของคนเสื้อแดง ในที่สุดก็ยกฟ้องหมดเลยทุกคน ไม่มีคนผิดในกรณีนี้ ศาลก็ยืนยันว่าคนเสื้อแดงที่ถูกจับไม่เกี่ยวข้อง หลักฐานสำคัญที่ช่วยดีเฟนด์คนเหล่านี้ก็คือเจ้าหน้าที่ของบริษัทเซ็นทรัลพัฒนาเองที่เกี่ยวข้องกับระบบป้องกันอัคคีภัย เขาก็ยืนยัน แต่คนเหล่านี้ก็ถูกขังไปแล้วระหว่างพิจารณาคดีเป็นปี แต่คนส่วนใหญ่ยังเชื่อว่าคนเสื้อแดงเป็นคนเผาเซ็นทรัลเวิร์ลอยู่ เพราะสื่อส่วนใหญ่ไม่ยอมเสนอ สื่อที่ต่อต้านคนเสื้อแดงไม่ยอมเสนอข้อมูลเหล่านี้ ไปถามคนกรุงเทพทั่วไปก็ยังเชื่อว่าคนเสื้อแดงเป็นคนเผาเซ็นทรัลเวิร์ลอยู่ ทั้งที่ยกฟ้องไปแล้ว

-
แล้วสรุปว่าใครเผา

-
พวงทอง: กรณีนี้หัวหน้าป้องกันอัคคีภัยของเซ็นทรัลเวิร์ลซึ่งเป็นตำรวจระดับพันตำรวจเอก เกษียณอายุแล้ว เขาบอกว่าลำพังคนเสื้อแดงไม่มีปัญญาเผาเซ็นทรัลเวิร์ลหรอก เพราะระบบป้องกันอัคคีภัยของเขาดีที่สุดในเอเชีย ใครเอาไฟมาจุด ถ้าปล่อยให้เจ้าหน้าที่ทำงาน เดี๋ยวมันก็ดับ เขามีระบบน้ำที่เข้มแข็งมาก แต่สิ่งที่เกิดขึ้นคือมีกลุ่มคนแต่งกายคล้ายทหารยิงใส่พวกเขา แม้กระทั่งตำรวจยังหนี ยังสู้ไม่ได้ แล้วพวกเขาซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ป้องกันอัคคีภัยถูกไล่ออกมาหมด ไม่ยอมให้อยู่ เขาบอกว่าถ้าปล่อยให้เขาทำงาน ไม่ไหม้หรอก เขาเอาอยู่แน่ๆ แล้วยังบอกว่ามีที่ไหนไฟไหม้อยู่เป็นชั่วโมง รถดับเพลิงยังไม่เข้ามา แล้วบริเวณเซ็นทรัลเวิร์ลตอนที่เกิดเพลิงไหม้นั้น ผู้ชุมนุมออกไปจากพื้นที่หมดแล้ว

-
ดิฉันเห็นด้วยกับข้อเสนอของนิติราษฎร์ พูดง่ายๆ คือเราไม่ไว้ใจกระบวนการยุติธรรมที่เป็นอยู่ เห็นได้ชัดอย่างกรณีคดีของคุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะกับคุณสุเทพ เทือกสุบรรณ ก็ถูกโยนไป ป.ป.ช. (สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ) จะเห็นว่ากระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวกับคดีทางการเมือง มันมีปัญหาและถูกตั้งคำถามเยอะ แต่ที่ผ่านมามันเรียกร้องยากที่จะให้มีการตั้งคณะตุลาการพิเศษ เพราะว่าคนที่อยู่ในศาลก็จะไม่พอใจ เพราะมันเป็นสิ่งที่แสดงชัดเจนว่าเราไม่ไว้ใจเขา ดังนั้น เวลานิรโทษกรรมก็เหมือนกับว่าครอบคลุมทุกคนในส่วนขอประชาชนยกเว้นแกนนำ แต่ถามว่าโมเดลแบบไหนที่ดิฉันคิดว่าดีที่สุดก็คือโมเดลแบบนิติราษฎร์ คือตั้งคณะตุลาการพิเศษขึ้นมาพิจารณารายคดี แต่ระหว่างที่พิจารณาคนที่ติดคุกอยู่ก็ต้องให้เข้าได้ประกันตัว

-
ยุครัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร มีการเยียวยา 7.5 ล้านบาทให้แก่เหยื่อความรุนแรงทางในการชุมนุมทางการเมืองและกรณีความรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้...

-
พวงทอง: การจ่ายค่าชดเชยเป็นส่วนหนึ่งของการเยียวยา แต่ไม่ใช่ทั้งหมด การจ่ายค่าชดเชย มันแก้ปัญหาหลายอย่าง หนึ่ง-เป็นการแสดงการรับผิดของรัฐ ถึงแม้ว่าคนที่เข้ามาเป็นฝ่ายบริหารต่ออาจจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับการปราบปราม แต่คุณทำหน้าที่สืบต่อกลไกอำนาจรัฐ เมื่อเขาสูญเสียจากกลไกอำนาจรัฐ รัฐก็แสดงความรับผิดชอบ สอง-คนที่เสียชีวิต หลายคนเป็นคนที่หาเลี้ยงครอบครัวหรือเป็นคนที่หาเลี้ยงครอบครัว เป็นลูกที่กำลังจะเรียนจบ นี่เป็นการสูญเสียทางเศรษฐกิจและก็กระทบต่อสภาพจิตใจของคนในครอบครัวด้วย ถ้าคิดในแง่เศรษฐกิจ เขาก็ควรได้รับสิ่งเหล่านี้ มีรายหนึ่งที่พิการ คือนอกจากจะเลี้ยงดูครอบครัวไม่ได้แล้ว ยังเป็นภาระด้วย เงินชดเชยนี้จะช่วยผ่อนหนักเป็นเบาได้

-
แต่มันไม่สามารถขจัดความทุกข์ได้ทั้งหมด มันมีกรณีที่ถูกยิง เขาไม่ได้เกี่ยวข้องกับผู้ชุมนุมเลย เขาเดินออกมาทานข้าวกันกับครอบครัวแถวคลองเตย ถูกยิงที่กลางหลัง พิการ อาชีพคือเข็นรถขายของ ลูก 2 คนยังเล็กอยู่ ลูกไปโรงเรียน ภรรยาต้องดูแลสามีที่นอนพิการอยู่ที่บ้าน รายได้มาจากไหน ต้องหาหมอทุกวัน เงินชดเชยเหล่านี้ก็จะช่วยทำให้สามชีวิตในครอบครัวพอจะไปต่อได้ ซึ่งในที่สุดเขาก็เสียชีวิต

-
แต่ 7.5 ล้านก็มาพร้อมกับท่าทีว่า ให้จบๆ กันไปซะ

-
พวงทอง: มันมีหลากหลายอารมณ์ ส่วนของญาติบอกว่าไม่จบแน่ อีกอันหนึ่งเงินนี้ยังช่วยให้คนเป็นพ่อเป็นแม่ที่สูญเสียลูก ด้านหนึ่งทำให้เขามีเวลา มีโอกาส คนกลุ่มนี้ส่วนมากเป็นคนหาเช้ากินค่ำ ขาดรายได้ไปวันหนึ่งก็ลำบากแล้ว แต่เงินส่วนนี้ อย่างน้อยที่สุดยังทำให้เขาสละเวลาจากการหาเช้ากินค่ำมาเคลื่อนไหว เรียกร้อง ประท้วงได้ อันนี้สำคัญ ถ้าญาติไม่ทำ เรื่องเหล่านี้จะหายไปจากสังคมไทยเร็วมาก
-

ส่วนของเราเองก็ยืนยันว่าไม่จบ นี่เป็นแค่ส่วนเดียวเท่านั้น บางกรณีในต่างประเทศ ญาติไม่รับเงินด้วยซ้ำไป ตราบที่ความยุติธรรมยังไม่มา มันมีส่วนของพรรคเพื่อไทยของคุณทักษิณเอง เวลาที่เขาโฟนอินมา จะพูดลักษณะว่าให้ลืมกันไป ให้ประนีประนอม ดิฉันคิดว่าทำแบบนี้ พรรคเพื่อไทยและคุณทักษิณดูเลวลงในทัศนะคนเสื้อแดงจำนวนมาก อาจจะไม่ใช่ทั้งหมด คนเสื้อแดงจำนวนมากก็อาจจะรู้สึกว่าได้รับชดเชยไปแล้ว พอแล้ว อันนี้ก็เป็นปัญหาอันหนึ่งของสังคมไทย คือดูเบาความทุกข์ ความคับแค้นของคนที่สูญเสีย คิดว่าเงินจะทดแทนความสูญเสียได้ทั้งหมด เป็นปัญหาหนึ่งของการมองเรื่องปรองดองในสังคมไทยด้วย เป็นการดูถูกด้วย

-
ความรับผิดทางการเมืองมีหลายระดับตั้งแต่ผู้นำรัฐบาล ผู้นำกองทัพ เจ้าหน้าที่ระดับปฎิบัติการ จนถึงประชาชนไม่ว่าเขาจะทำด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม เราจะสร้างบรรทัดฐานและจำแนกแยกแยะการรับผิดของคนแต่ละกลุ่มอย่างไร

-
พวงทอง: แต่ละสังคมที่ผ่านความรุนแรง ระดับของการรับผิดก็แตกต่างกันไป บางสังคมเอาเฉพาะผู้นำที่สั่งการ บางสังคมลงไประดับนายทหารที่มีอำนาจบังคับบัญชา ระดับสัญญาบัตรที่เกี่ยวข้องกับการบังคับบัญชา บางสังคมแม้กระทั่งนายทหารระดับล่าง ถ้าพบว่าคุณทำเองโดยไม่มีคำสั่ง เป็นการทำตามอำเภอใจ สะใจ ก็ถูกเอาผิดด้วยเหมือนกัน อันนี้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ไม่ได้เกิดจากการตัดสินใจของคนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมไม่กี่คน แต่ก็ต้องดูด้วยว่าระดับความขัดแย้ง ความตึงเครียดในสังคมเป็นอย่างไร เพราะการที่คุณจะเอาผู้มีอำนาจที่กระทำความรุนแรงต่อประชาชนอย่างกว้างขวางมาลงโทษได้นั้น โครงสร้างทางอำนาจต้องเปลี่ยนด้วย แต่โครงสร้างทางอำนาจไม่ได้เปลี่ยนอย่างฉับพลัน ไม่ใช่ว่ารัฐบาลทหารลงจากอำนาจวันนี้ วันพรุ่งนี้อำนาจจะเปลี่ยนถ่ายไปสู่รัฐบาลพลเรือนอย่างเบ็ดเสร็จ เขายังมีเครือข่าย มีกลไกของเขาอยู่ หลายๆ คนก็ยังมีอำนาจอยู่ สิ่งสำคัญจะต้องเกิดการเปลี่ยนผ่านโครงสร้างทางอำนาจ

-
ปัญหาอันหนึ่งของสังคมไทย คือดูเบาความทุกข์ ความคับแค้นของคนที่สูญเสีย คิดว่าเงินจะทดแทนความสูญเสียได้ทั้งหมด เป็นปัญหาหนึ่งของการมองเรื่องปรองดองในสังคมไทยด้วย

-
แต่กรณีสังคมไทย มันไม่เกิดขึ้น แม้กระทั่งหลังกรณี 6 ตุลา มันไม่ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางอำนาจจริง คนที่เกี่ยวข้องกับการใช้ความรุนแรงยังมีอำนาจอยู่ในเชิงโครงสร้าง ยังมีกลไกที่ออกมาปกป้องในการออกกฎหมายนิรโทษกรรม รวมถึงกระทั่งกลไกในการโฆษณาชวนเชื่อที่ทำให้คนส่วนใหญ่ยอมรับแนวทางการปรองดองแบบไทยๆ

-
กรณีของไทย ไม่ต้องพูดการเอาผิดกับทหารระดับล่าง เอาแค่ผู้นำไม่กี่คนที่เกี่ยวข้องในการตัดสินใจ สั่งการ ระดมทหารออกมา อนุมัติงบประมาณ อนุมัติการเบิกจ่ายกระสุนปืน การจัดตั้งหน่วยงาน แค่นี้ยังทำไม่ได้เลย หลายปีที่ผ่านมา ไม่เคยทำได้ กระบวนการยุติธรรมที่กำลังจะเริ่มขึ้น ในที่สุดก็ถูกระงับไป มันชี้ให้เห็นว่ามีเครือข่ายของอำนาจที่จะปกป้องคนเหล่านี้อยู่

-
สำหรับดิฉัน จุดเริ่มต้นของสังคมไทย ถ้าจะมีการเอาผิดผู้ที่กระทำผิดได้จริง ดิฉันขอเฉพาะผู้นำที่เกี่ยวข้องในการสั่งการก่อน แค่นี้แหละ และนี่จะเป็นบทเรียนที่ป้องกันไม่ให้ความรุนแรงเกิดขึ้น ถ้ามันจะเกิดขึ้นอีก การจะเอาผิดคนที่ทำผิดซ้ำสองซ้ำสามอีกก็จะมีความเป็นไปได้มากยิ่งขึ้น

-
มีการตั้งข้อสังเกตว่า แล้วอย่างสไนเปอร์ที่ยิงลงมาจากบนรางรถไฟฟ้าล่ะ ใช่ว่าเจ้าหน้าที่เหล่านี้ถูกสั่ง แต่ในมิติความเป็นมนุษย์ เขาก็เป็นผู้ลั่นไกสังหาร

-
พวงทอง: นี่ก็เป็นประเด็นสำคัญ แต่อย่างที่บอก คือคนที่เสนอว่าควรต้องเอาผิดกับเจ้าหน้าที่รัฐด้วยที่ไม่ขัดขืนคำสั่ง เพราะในที่สุดแล้วคุณต้องมองว่าคนแต่ละคนไม่ใช่แค่ตัวน็อต แต่สามารถคิดได้ รู้สึกได้ ตัดสินใจได้ ถ้าคำสั่งไม่ถูกต้อง เขาไม่ทำก็ได้ แต่ถ้าคุณทำ คุณก็ต้องรับผิดชอบ โอเค นี่เป็นมิติที่น่าสนใจ

-
แต่อย่างที่บอก ภายใต้สถานการณ์การเมืองที่เป็นอยู่ คิดว่ายากมากๆ ที่จะเรียกร้องให้มีการเอาผิดกับเจ้าหน้าที่ระดับล่างได้ สองก็คือว่าวัฒนธรรมในกองทัพ การที่คุณเอากองทัพเข้ามาสลายการชุมนุม กองทัพไม่ได้ถูกฝึกมาให้สลายการชุมนุมโดยสันติวิธีและให้เกิดการสูญเสียน้อยที่สุด เขาถูกฝึกให้ยิง Shoot to Kill ยิงแล้วอีกฝ่ายหนึ่งต้องล้มลง จะตายหรือบาดเจ็บสาหัสไม่ใช่ประเด็นที่ดิฉันคิดว่าเขาสนใจเท่าไหร่ นี่ก็เป็นวัฒนธรรมกองทัพที่จะต้องถูกแก้ไขด้วย รวมถึงคนที่ตัดสินใจเอากองทัพเข้ามาสลายการชุมนุมโดยใช้กระสุนจริง ทั้งที่รู้อยู่ว่าผลที่จะออกมาเป็นยังไง ต้องรับผิดชอบมากกว่า

-
ที่จริงเรามีหน่วยปราบจราจลของตำรวจอยู่ มีเครื่องมือ แต่ไม่ถูกใช้ เพราะในปี 2553 มันคือการทำสงครามในเมือง เขาใช้ยุทธศาสตร์การทำสงครามในเมืองเข้ามาจัดการปัญหา การบอกว่าคนที่สั่งการไม่รู้ว่าผลจะออกมายังไง เป็นไปไม่ได้ คุณระดมพลทหารออกมา 67,000 กว่านาย อนุมัติให้มีการเบิกกระสุนออกมาเกือบ 4 แสนนัด มันคืออะไร กระสุนจริงนะคะ กระสุนสไนเปอร์อีก 2,000 นัด เวลาคุณเซ็นคำสั่งเหล่านี้ คุณจะบอกว่ามันจะไม่ถูกใช้เลยอย่างนั้นเหรอ เป็นไปไม่ได้ที่เขาจะไม่รู้ว่าผลที่ออกมาจะเป็นยังไง

-
การให้นำคนผิดมาลงโทษเป็นสิ่งที่ต้องเกิดขึ้น อีกด้านหนึ่งประชาชนจำนวนมากที่อาจจะยังติดคุกอยู่ ยังต้องคดี พวกเขาอาจแค่ต้องการอิสรภาพ ต้องการการนิรโทษกรรม แม้จะต้องแลกกับการลอยนวลของผู้สั่งการ นี่อาจเป็นความต้องการพื้นฐานของเหยื่อทางการเมืองจำนวนมากที่จับต้องได้มากกว่า เห็นผลทันที

-
พวงทอง: พูดเฉพาะกรณีปี 2553 สิ่งที่เกิดขึ้น ที่พูดว่าถ้าคนที่ถูกจับกุมคุมขังได้รับอิสรภาพแล้วไม่ต้องเอาผิดคนที่รับผิดชอบ มันไม่ได้เกิดขึ้นในขณะนี้ สิ่งที่เราเห็นคือประชาชนถูกจับกุมคุมขัง ถูกดำเนินคดีไปหมดแล้ว บางคนก็ถูกปล่อยออกมาแล้ว แต่ส่วนของผู้มีอำนาจยังไม่ได้ถูกดำเนินคดีเลย ยังไม่ได้เริ่มเลยด้วยซ้ำไป แล้วโอกาสที่จะเอาคนเหล่านี้มาดำเนินคดี มันเป็นไปไม่ได้เลยภายใต้รัฐบาลทหาร อาจต้องรอกันอีกสิบปี ฉะนั้น นี่มันไม่ได้เกิดขึ้นจริง มันแย่กว่าในอดีตด้วยซ้ำที่นิรโทษกรรมแล้ว ผู้มีอำนาจได้รับนิรโทษกรรม ประชาชนที่ติดคุกอยู่ก็ได้ด้วย อย่างในกรณี 6 ตุลา

-
กรณีของไทย ไม่ต้องพูดการเอาผิดกับทหารระดับล่าง เอาแค่ผู้นำไม่กี่คนที่เกี่ยวข้องในการตัดสินใจ สั่งการ ระดมทหารออกมา...แค่นี้ยังทำไม่ได้เลย หลายปีที่ผ่านมา ไม่เคยทำได้ กระบวนการยุติธรรมที่กำลังจะเริ่มขึ้น ในที่สุดก็ถูกระงับไป มันชี้ให้เห็นว่ามีเครือข่ายของอำนาจที่จะปกป้องคนเหล่านี้อยู่

-
ถ้าจะมีการรื้อฟื้นคดีต่างๆ เหล่านี้ขึ้นมาอีก ซึ่งดิฉันคิดว่าเป็นไปไม่ได้ในเวลาอันใกล้ อย่างถ้าวันนี้บอกว่านิรโทษกรรมให้กับทุกฝ่าย ทั้งผู้นำและประชาชนที่ติดคุกอยู่ด้วย ดิฉันไม่เห็นด้วย ดิฉันคิดว่าส่วนของประชาชนเขาได้รับโทษไปแล้ว ถ้าจะรื้อฟื้นคดีเหล่านั้นในส่วนของประชาชน ดิฉันคิดว่าต้องรื้อฟื้นมาดูว่าอันไหนที่มีปัญหาและเขาไม่สมควรที่จะติดคุก ก็ต้องได้รับการชดเชย แต่ถ้าเขาทำผิดจริง มีหลักฐานหนักแน่น ก็ต้องพิจารณาว่าโทษที่เขาได้รับไปแล้วมันเพียงพอหรือยัง แต่ระหว่างที่รื้อฟื้นคดีขึ้นมาจะต้องให้เขาได้รับการประกันตัว ส่วนคดีของผู้นำก็ต้องเกิดขึ้นไปพร้อมกันด้วย

-
Cr. prachatai



โครงสร้างอำนาจที่ปกป้องคนผิดให้ลอยนวล (ตอนที่ 1)

โครงสร้างอำนาจที่ปกป้องคนผิดให้ลอยนวล  (ตอนที่ 1)

-
Thu, 2016-05-19 23:50

-
19-22 พฤษภาคม 2559 เป็นห้วงเวลาที่คาบเกี่ยวกันระหว่างการครบรอบ 6 ปีเหตุการณ์สลายการชุมนุมของคนเสื้อแดงในปี 2553 และครบรอบ 2 ปีการรัฐประหาร 2557 เรายังเห็นตัวละครมากหน้าหลายตาที่เกี่ยวพันกับการสลายการชุมนุมยังคงโลดแล่นบนเวทีการเมืองในบทบาทต่างๆ โดยที่มลทินจากอดีตไม่ส่งผลใดๆ และมือของกระบวนการยุติธรรมก็เอื้อมไปไม่ถึง
-
อันที่จริงไม่ใช่แค่เหตุการณ์ปี 2553 แต่ก็ทุกๆ เหตุการณ์รุนแรงทางการเมืองตั้งแต่ 6 ตุลาคม 2519 นั่นแหละ สิ่งนี้คือวัฒนธรรมที่ฝังลึกอยู่ในสังคมไทย 'วัฒนธรรมการพ้นผิดลอยนวล' (Impunity) ที่ผู้มีอำนาจไม่เคยต้องรับผิดชอบใดๆ ต่อความรุนแรงที่กระทำต่อประชาชน เพราะมีโครงสร้างอำนาจคอยโอบเอื้อให้สิ่งนี้คงอยู่
-
รศ.พวงทอง ภวัครพันธุ์ จากภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้ประสานงานศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายกาารชุมนุม เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.) คือผู้ที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการผลักดันให้มีการดำเนินคดีกับผู้สั่งการในกรณีพฤษภาคม 2553 และกรณีอื่นๆ
-
บทสนทนาต่อไปนี้จะฉายภาพให้เห็นว่า มีความพิกลพิการใดที่ทำให้ความยุติธรรมไม่เคยเกิดขึ้นในสังคมไทย
-
อาจารย์มาสนใจประเด็นการนำผู้สั่งการให้เกิดความรุนแรงกับประชาชนได้อย่างไร

พวงทอง: เราก็สนใจในฐานะนักศึกษาธรรมศาสตร์และนักกิจกรรม ตอนเป็นเด็กกิจกรรมก็ต้องจัดนิทรรศการ 6 ตุลาทุกปี เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เรารับรู้ประวัติศาสตร์การเมืองของไทยว่าคืออะไร ตอนปี 2535 ก็เป็นช่วงที่อยู่ในกลุ่มผู้ประท้วงด้วย แต่เป็นช่วงที่กำลังเรียนปริญญาเอกอยู่ แต่ช่วงเหตุการณ์อยู่เมืองไทย พอหลังเกิดเหตุการณ์ไม่นานก็กลับไปเรียนหนังสือต่อ ก็ไม่ได้เกี่ยวข้องกับกระบวนการค้นหาความจริงเท่าไหร่ แต่มาแอคทีฟตอนกลับมาเป็นอาจารย์และเกิดเหตุการณ์ปี 2553 แต่ก็เป็นความรับรู้มาตลอดว่าสังคมไทย ผู้มีอำนาจทำผิดแล้วไม่ต้องรับผิด ซึ่งเราก็รู้สึกได้เวลาที่เจอพวกญาติๆ คนเป็นพ่อเป็นแม่ แล้วก็เป็นความสนใจทางวิชาการด้วยที่เราสนใจเรื่องความรุนแรง

-
ความรู้สึกว่ามันไม่แฟร์ มันเยอะ คุณอยู่ในประเทศนี้ ถ้าคุณสนใจการเมือง คุณจะรู้สึกว่ามีสิ่งที่ไม่ยุติธรรมเยอะมากๆ ในทุกระดับ ไม่ใช่แค่การเมืองส่วนกลาง คุณแตะไปตรงไหน คุณจะเจอปัญหาเรื่องความยุติธรรมเต็มไปหมด ความยุติธรรมที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมด้วย ที่เกี่ยวกับกระบวนการทางการเมืองด้วย

-
การจะเอาชนชั้นที่กระทำผิดเข้าคุกได้ สังคมโดยรวมต้องมองประเด็นนี้ใหม่ด้วย ซึ่งก็เกี่ยวข้องกับข้อมูล บางทีก็เป็นข้อมูลพื้นๆ ที่เกิดขึ้นเท่านั้นเอง อย่างกรณีอาร์เจนตินา เขาใช้เวลาต่อสู้ 30 ปีกว่าจะนำพวกผู้นำทหารที่เกี่ยวข้องกับการอุ้มหายคนเกือบ 30,000 คนมาลงโทษได้ ตอนแรกคนก็ไม่สนใจ พวกแม่ก็ประท้วงทุกวันพฤหัสบดี ตอนบ่าย ตรงจตุรัสของเมือง พอรัฐบาลทหารลงจากอำนาจก็มีการนิรโทษกรรมโดยรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง เพราะรู้สึกว่าต้องประนีประนอมกับทหาร กลัวทหารจะยึดอำนาจอีก

-
คุณอยู่ในประเทศนี้ ถ้าคุณสนใจการเมือง คุณจะรู้สึกว่ามีสิ่งที่ไม่ยุติธรรมเยอะมากๆ ในทุกระดับไม่ใช่แค่การเมืองส่วนกลาง คุณแตะไปตรงไหน คุณจะเจอปัญหาเรื่องความยุติธรรมเต็มไปหมด

-
แต่ช่วงของการต่อสู้ มีการเปิดเผยข้อมูลมากขึ้นๆ เรื่อยๆ ว่าเขาทำอะไรบ้างกับคนที่หายไป วันหนึ่งนายทหารคนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการเอาศพคนที่ยังไม่เสียชีวิตไปโยนทิ้งกลางทะเลก็ออกมา นี่เป็นวิธีหนึ่งที่อาร์เจนตินาทำ ก็คือคุณจับเขาไปขัง ทรมาน ซ้อม รีดข้อมูล เสร็จแล้วก็ฉีดยา ถอดเสื้อผ้าหมด พาขึ้นเฮลิคอปเตอร์ไปโยนทิ้งกลางทะเล ซึ่งมีศพเป็นร้อยลอยมาเกยตื้นตามชายฝั่งของประเทศอาร์เจนตินาและประเทศเพื่อนบ้าน พิสูจน์ศพแล้วพบว่าตกลงมาจากที่สูง ทหารคนนี้ที่เกี่ยวข้องก็ทนไม่ได้หลังจากผ่านมา 20 ปี เขาฝันร้ายตลอดเวลา เพราะคนที่เขาทิ้งไปยังไม่ตาย บางคนก็สลึมสะลือ มันก็หลอนเขา ก็เกิดการรื้อฟื้นใหม่

-
บางทีข้อมูลพื้นๆ ที่ทำให้เห็นว่ามันโหดร้ายขนาดนี้ มันช็อกคน คนส่วนใหญ่ไม่ได้อยากรู้เรื่องราวความโหดร้าย แต่คนเหมือนถูกมอมยา อยากเชื่อว่าสังคมตัวเองดี แต่วันหนึ่งที่ข้อมูลถูกเปิดเผยมากขึ้น คนก็รู้สึกว่าการทำแบบนี้มันไม่ถูก อีกอย่างก็คือทหารหมดอำนาจ มีการขุดคุ้ยข้อมูลการคอร์รัปชั่น ความไม่โปร่งใส การเล่นพรรคเล่นพวก นำไปสู่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ หรือแม้แต่การตัดสินใจผิดที่ทำสงครามหมู่เกาะฟอล์คแลนด์กับอังกฤษ คนก็ไม่พอใจรัฐบาลทหารมาก หมายความว่ามันเกิดการเปลี่ยนแปลงระดับโครงสร้างด้วย ไม่ใช่แค่เรื่องใดเรื่องหนึ่งหรืออาจจะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วไปกระทบส่วนอื่นๆ ด้วย

-
ในสังคมไทย วัฒนธรรมการพ้นผิดลอยนวลไม่ใช่แค่คนระดับอีลีท แต่มันแพร่กระจายไปในทุกระดับ เช่น ถ้าคุณถูกใบสั่ง คุณก็อาจให้เพื่อนช่วย ไม่ยอมเสียเงิน

พวงทอง: การทำแบบนี้ได้ทั้งในระดับล่างและระดับบน มันสะท้อนความเป็นเครือข่ายอุปถัมภ์ สังคมนี้เป็นสังคมที่ใช้เส้นสายเยอะมากๆ แม้กระทั่งการไม่ต้องรับผิดก็เกี่ยวข้องกับระบบเส้นสาย แต่เป็นเส้นสายที่ใหญ่มากๆ เป็นเรื่องโครงสร้างอำนาจ

-
การนำคนมารับผิด การนิรโทษกรรม การปรองดอง ต่างก็มีความเกี่ยวพันกัน มีผลต่อกันเวลาปฏิบัติ เช่น จะปรองดองก็ต้องนิรโทษ ไม่เอาผิด หรือถ้าจะเอาผิดก็กลัวว่าจะไม่เกิดความปรองดอง เป็นความเกี่ยวโยงที่ซับซ้อนและเหมือนจะปะทะขัดแย้งกันอยู่ในตัว

พวงทอง: ดิฉันคิดว่าคนไทยเวลามองเรื่องปรองดองเป็นการมองที่คับแคบ คิดว่าการปรองดองคือการที่ไม่ต้องรื้อฟื้นสิ่งที่เกิดขึ้น ยอมๆ กันไป อโหสิกรรมไป เพราะถ้ายิ่งไปติดตามเอาผิดกับคนที่ทำผิดจะยิ่งเกิดความขัดแย้งรุนแรงมากขึ้น เพราะคนที่ใช้ความรุนแรงนั้นมีเครือข่ายของตัวเอง ยังมีอำนาจอยู่ และแทนที่จะลงจากอำนาจ สมมติกรณีที่ทหารทำผิดแล้วพ่ายแพ้ในทางการเมือง ยอมลงจากอำนาจ ถ้าคุณไปเอาผิดเขา ในที่สุดเครือข่ายของเขาอาจจะไม่ยอม กลับมายึดอำนาจ นี่คือสิ่งที่สังคมไทยทำมาตลอด

แล้วคนที่มักจะเน้นย้ำประเด็นนี้คือคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้ความรุนแรงกับประชาชน อย่างกรณี 6 ตุลา คุณจะเห็นว่าส่วนใหญ่เป็นชนชั้นนำฝ่ายขวาที่บอกให้ลืมๆ กันไป อย่าไปรื้อฟื้น อย่าไปขุดคุ้ย เรื่องมันผ่านมานานแล้ว ซึ่งเท่ากับเป็นการปกป้องตัวเอง การพูดแบบนี้ คนไทยบอกว่านี่คือการปรองดอง แต่สำหรับดิฉันนี่คือการลงโทษเหยื่อซ้ำสอง เหยื่อในที่นี้ ไม่ใช่แค่ผู้ที่เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ แต่ต้องรวมญาติของเขาด้วย แล้วเขาต้องทนทุกข์อีกยาวนานหลายปี ญาติคน 6 ตุลา หลายคนยังเจ็บปวดอยู่เลยทั้งที่ผ่านมา 40 ปีแล้ว เขายังเจ็บปวดกับความยุติธรรมที่เขาไม่ได้รับ เท่ากับเขาโดนซ้ำสอง นอกจากสูญเสียคนที่เขารักแล้ว เขายังต้องก้มหน้ายอมจำนนกับความอยุติธรรมนี้อีก ดิฉันไม่ได้มองว่านี่คือการปรองดอง แต่เป็นการเหยีบย่ำเหยื่อครั้งที่สอง

การทำแบบนี้จะเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้มีอำนาจในอนาคตไม่รู้สึกกลัวว่าจะต้องรับผิด แล้วก็จะทำอาชญากรรมกับประชาชนอย่างกว้างขวางได้อีก เพราะเชื่อว่าถึงที่สุดแล้ว วัฒนธรรมปรองดองแบบไทยๆ จะช่วยปกป้องคุ้มครองเขา และเขาก็เชื่อว่าเครือข่ายซึ่งอาจจะอยู่นอกเหนือตัวรัฐบาล นอกเหนือจากกองทัพ องค์กรทั้งหลายแหล่ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมก็จะช่วยปกป้องเขาด้วย ดิฉันจึงมองไม่เห็นว่าวิธีการแบบนี้จะทำให้สังคมไทยหลุดพ้นจากการที่รัฐใช้อำนาจปราบปรามประชาชนตามอำเภอใจได้อย่างไร ดิฉันเชื่อว่าเหตุการณ์แบบนี้จะเกิดขึ้นอีก ตราบใดที่เราไม่สามารถจะเอาผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ความรุนแรงมาลงโทษได้

-
ทีนี้ เวลาที่เราพูดถึงการลงโทษ ดิฉันไม่ได้คิดว่าจะต้องเป็นการลงโทษด้วยวิธีการเดียวเท่านั้น คือดิฉันก็ยังรู้สึกว่า โอเคล่ะ การปรองดองก็มีระดับหนึ่งที่จะต้องผ่อนปรนกันบ้าง ยืดหยุ่นกันบ้าง แต่มีหลักบางหลักที่ยืดหยุ่นไม่ได้ คือหลักที่คุณทำผิดแล้วต้องรับผิด แต่ว่าจะลงโทษหนักเบาอย่างไร ตรงนี้ถ้าคำนึงถึงการปรองดองก็อาจจะลดโทษของเขาลง สำหรับดิฉัน การปรองดองที่ดิฉันยอมได้คือต้องมีการดำเนินคดีอาญาที่โปร่งใส่ ทุกส่วน ไม่ว่าคุณจะเป็นจำเลยหรือโจทก์ ก็ต้องเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมที่เป็นกลางและโปร่งใส และทำให้ประชาชนเห็นว่าคนที่ทำผิดนั้นทำผิดอย่างไร ต้องมีการตัดสินว่าทำผิด หลังจากนั้นถ้าสังคมรู้สึกว่าถ้าลงโทษเขาแรงจะนำไปสู่ความขัดแย้ง คุณก็อาจลดโทษ ผ่อนผัน จากจำคุกตลอดชีวิตเป็นขังไว้ในบ้านตลอดชีวิตก็ได้

-
การผ่อนปรนคือลักษณะนี้ แต่อย่างน้อยที่สุดต้องหาให้ได้ว่าใครเป็นคนทำและทำให้คนที่ทำผิดนั้นยอมรับว่าตัวเองกระทำผิด

-
อย่าไปรื้อฟื้น อย่าไปขุดคุ้ย เรื่องมันผ่านมานานแล้ว...การพูดแบบนี้ คนไทยบอกว่านี่คือการปรองดอง แต่สำหรับดิฉันนี่คือการลงโทษเหยื่อซ้ำสอง เหยื่อในที่นี้ ไม่ใช่แค่ผู้ที่เสียชีวิตหรือบาดเจ็บ แต่ต้องรวมญาติของเขาด้วย...ญาติคน 6 ตุลา หลายคนยังเจ็บปวดอยู่เลยทั้งที่ผ่านมา 40 ปีแล้ว เขายังเจ็บปวดกับความยุติธรรมที่เขาไม่ได้รับ

-
นิรโทษกรรมเหมาเข่งที่ผ่านมาคงเป็นตัวอย่างหนึ่งของวัฒนธรรมพ้นผิดลอยนวล แต่การนิรโทษกรรมก็นับว่าเป็นกระบวนการที่หลายฝ่ายเรียกร้อง คำถามคือเราจะนิรโทษกรรมอย่างไรที่จะไม่ส่งเสริมการพ้นผิดลอยนวล

-
พวงทอง: กรณี พ.ร.บ.เหมาเข่ง ตอนนั้นดิฉันก็ออกมาประณามพรรคเพื่อไทยด้วยว่าสิ่งที่เขาทำเป็นการทรยศต่อประชาชน จนป่านนี้พรรคเพื่อไทยก็ยังไม่ออกมาขอโทษเลย ดิฉันเชื่อว่าประชาชน โดยเฉพาะญาติของผู้ที่สูญเสียรอคำขอโทษนี้อยู่ ถ้าคุณไม่ขอโทษ นี่จะเป็นตราบาปที่ติดตัวบรรดา ส.ส. ที่โหวตให้ พ.ร.บ.เหมาเข่งผ่าน

-
มันมีอยู่สองส่วน โดยใจจริงดิฉันแล้ว ในช่วงที่ผ่านมาเมื่อกลับมาทบทวนเกี่ยวกับการนิรโทษกรรม ดิฉันก็ไม่ค่อยเห็นด้วยกับการนิรโทษกรรมอย่างเท่าเทียมกันทุกฝ่าย ในส่วนของแกนนำ ผู้นำที่เกี่ยวข้อง ดิฉันไม่เห็นด้วยอยู่แล้วที่ให้นิรโทษกรรม แม้กระทั่งในส่วนของประชาชนเอง การนิรโทษกรรมทุกคนโดยไม่ต้องพิจารณาว่าใครทำอะไรผิดมากน้อยอย่างไร ก็เป็นสิ่งที่ไม่ถูกเหมือนกัน

-
ดิฉันเห็นด้วยกับข้อเสนอของกลุ่มนิติราษฎร์ที่ให้มีการตั้งคณะตุลาการพิเศษขึ้นมาเพื่อพิจารณาคดีความทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับประชาชน แล้วดูว่าคดีไหนที่อ่อนมากๆ มีเหตุจูงใจทางการเมือง หลักฐานมีปัญหา ซึ่งดิฉันมองว่าหลักฐานในคดีที่เกี่ยวข้องกับประชาชนทั่วไปมีปัญหาเยอะมากๆ คนเหล่านี้สมควรได้รับการนิรโทษกรรม โดยเฉพาะคนที่ทำผิด พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ไปร่วมชุมนุม หรือถูกจับในเวลากลางคืน แล้วก็ถูกศาลตัดสิน หกเดือนบ้าง ปีหนึ่งบ้าง บางคนรอลงอาญาบ้าง คนเหล่านี้แม้จะหลุดออกจากคุกมาแล้วก็สมควรจะได้รับนิรโทษกรรม ความผิดที่ติดอยู่ในประวัติของเขาควรต้องถูกลบล้างออกไป เพราะคนเหล่านี้จะไม่สามารถรับราชการได้ถ้ามีคดีอาญาติดตัว

-
สอง-คนที่ยังติดคุกอยู่ในคดีอาญาข้อหาร้ายแรง กลุ่มของ ศปช. (ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายกาารชุมนุม เม.ย.-พ.ค. 53) ที่ทำรายงานเกี่ยวกับเหตุการณ์ปี 2553 เราก็พบว่ามีหลายกรณีที่หลักฐานอ่อน มีปัญหามาก เช่นกรณีหนึ่งเจ้าหน้าที่ของ กอ.รมน. (กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน) ยืนยันว่าตัวเขากับนายคนนี้เข้าไปร่วมกันดับไฟ แต่คนที่ว่าก็ถูกตัดสินจำคุก 34 ปี คนจำนวนมากที่ถูกข้อหาเผาศาลากลาง มันไม่ได้มีหลักฐานชัดเจนว่าเขาเป็นคนเผา แต่เขาอยู่ในบริเวณศาลากลาง มันมาจากรูปถ่ายเท่านั้นเอง เพราะฉะนั้นเมื่อพิจารณาแต่ละกรณีจะเห็นว่ามีหลายกรณีที่หลักฐานอ่อนมากๆ คนเหล่านี้สมควรได้รับการนิรโทษกรรม

-
แต่ถ้าในกรณีที่มีหลักฐานชัดเจน จะมากจะน้อย คนเหล่านั้นก็ต้องรับผิดชอบ เพราะนี่จะเป็นบทเรียนในอนาคตว่า ประชาชนเองก็ไม่สามารถใช้ความรุนแรงได้ง่ายๆ อีกต่อไป แต่ปัญหาก็คือว่าในกรณีของไทยที่ผ่านมา เวลานิรโทษกรรม เขานิรโทษกรรมให้กับคนมีอำนาจมากกว่า แล้วประชาชนก็ได้รับผลพลอยได้ไปด้วย คราวนี้ในกรณีเสื้อแดง ปี 2553 สิ่งที่เราเห็นคือประชาชนถูกลงโทษไปแล้ว ถูกตัดสินจำคุกไปเยอะมาก กรณี พ.ร.ก.ฉุกเฉิน นี่หลายร้อยรายเลย แล้วกรณีคดีอาญาร้ายแรงอย่างเผาศาลากลางก็ติดคุกไปแล้ว

-
กรณี พ.ร.บ.เหมาเข่ง ตอนนั้นดิฉันก็ออกมาประณามพรรคเพื่อไทยด้วยว่าสิ่งที่เขาทำเป็นการทรยศต่อประชาชน จนป่านนี้พรรคเพื่อไทยก็ยังไม่ออกมาขอโทษเลย

-
หรือแม้กระทั่งกรณีเผาเซ็นทรัลเวิร์ลที่เชื่อว่าเป็นฝีมือของคนเสื้อแดง ในที่สุดก็ยกฟ้องหมดเลยทุกคน ไม่มีคนผิดในกรณีนี้ ศาลก็ยืนยันว่าคนเสื้อแดงที่ถูกจับไม่เกี่ยวข้อง หลักฐานสำคัญที่ช่วยดีเฟนด์คนเหล่านี้ก็คือเจ้าหน้าที่ของบริษัทเซ็นทรัลพัฒนาเองที่เกี่ยวข้องกับระบบป้องกันอัคคีภัย เขาก็ยืนยัน แต่คนเหล่านี้ก็ถูกขังไปแล้วระหว่างพิจารณาคดีเป็นปี แต่คนส่วนใหญ่ยังเชื่อว่าคนเสื้อแดงเป็นคนเผาเซ็นทรัลเวิร์ลอยู่ เพราะสื่อส่วนใหญ่ไม่ยอมเสนอ สื่อที่ต่อต้านคนเสื้อแดงไม่ยอมเสนอข้อมูลเหล่านี้ ไปถามคนกรุงเทพทั่วไปก็ยังเชื่อว่าคนเสื้อแดงเป็นคนเผาเซ็นทรัลเวิร์ลอยู่ ทั้งที่ยกฟ้องไปแล้ว

-
แล้วสรุปว่าใครเผา

-
พวงทอง: กรณีนี้หัวหน้าป้องกันอัคคีภัยของเซ็นทรัลเวิร์ลซึ่งเป็นตำรวจระดับพันตำรวจเอก เกษียณอายุแล้ว เขาบอกว่าลำพังคนเสื้อแดงไม่มีปัญญาเผาเซ็นทรัลเวิร์ลหรอก เพราะระบบป้องกันอัคคีภัยของเขาดีที่สุดในเอเชีย ใครเอาไฟมาจุด ถ้าปล่อยให้เจ้าหน้าที่ทำงาน เดี๋ยวมันก็ดับ เขามีระบบน้ำที่เข้มแข็งมาก แต่สิ่งที่เกิดขึ้นคือมีกลุ่มคนแต่งกายคล้ายทหารยิงใส่พวกเขา แม้กระทั่งตำรวจยังหนี ยังสู้ไม่ได้ แล้วพวกเขาซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ป้องกันอัคคีภัยถูกไล่ออกมาหมด ไม่ยอมให้อยู่ เขาบอกว่าถ้าปล่อยให้เขาทำงาน ไม่ไหม้หรอก เขาเอาอยู่แน่ๆ แล้วยังบอกว่ามีที่ไหนไฟไหม้อยู่เป็นชั่วโมง รถดับเพลิงยังไม่เข้ามา แล้วบริเวณเซ็นทรัลเวิร์ลตอนที่เกิดเพลิงไหม้นั้น ผู้ชุมนุมออกไปจากพื้นที่หมดแล้ว

-
ดิฉันเห็นด้วยกับข้อเสนอของนิติราษฎร์ พูดง่ายๆ คือเราไม่ไว้ใจกระบวนการยุติธรรมที่เป็นอยู่ เห็นได้ชัดอย่างกรณีคดีของคุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะกับคุณสุเทพ เทือกสุบรรณ ก็ถูกโยนไป ป.ป.ช. (สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ) จะเห็นว่ากระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวกับคดีทางการเมือง มันมีปัญหาและถูกตั้งคำถามเยอะ แต่ที่ผ่านมามันเรียกร้องยากที่จะให้มีการตั้งคณะตุลาการพิเศษ เพราะว่าคนที่อยู่ในศาลก็จะไม่พอใจ เพราะมันเป็นสิ่งที่แสดงชัดเจนว่าเราไม่ไว้ใจเขา ดังนั้น เวลานิรโทษกรรมก็เหมือนกับว่าครอบคลุมทุกคนในส่วนขอประชาชนยกเว้นแกนนำ แต่ถามว่าโมเดลแบบไหนที่ดิฉันคิดว่าดีที่สุดก็คือโมเดลแบบนิติราษฎร์ คือตั้งคณะตุลาการพิเศษขึ้นมาพิจารณารายคดี แต่ระหว่างที่พิจารณาคนที่ติดคุกอยู่ก็ต้องให้เข้าได้ประกันตัว

-
ยุครัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร มีการเยียวยา 7.5 ล้านบาทให้แก่เหยื่อความรุนแรงทางในการชุมนุมทางการเมืองและกรณีความรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้...

-
พวงทอง: การจ่ายค่าชดเชยเป็นส่วนหนึ่งของการเยียวยา แต่ไม่ใช่ทั้งหมด การจ่ายค่าชดเชย มันแก้ปัญหาหลายอย่าง หนึ่ง-เป็นการแสดงการรับผิดของรัฐ ถึงแม้ว่าคนที่เข้ามาเป็นฝ่ายบริหารต่ออาจจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับการปราบปราม แต่คุณทำหน้าที่สืบต่อกลไกอำนาจรัฐ เมื่อเขาสูญเสียจากกลไกอำนาจรัฐ รัฐก็แสดงความรับผิดชอบ สอง-คนที่เสียชีวิต หลายคนเป็นคนที่หาเลี้ยงครอบครัวหรือเป็นคนที่หาเลี้ยงครอบครัว เป็นลูกที่กำลังจะเรียนจบ นี่เป็นการสูญเสียทางเศรษฐกิจและก็กระทบต่อสภาพจิตใจของคนในครอบครัวด้วย ถ้าคิดในแง่เศรษฐกิจ เขาก็ควรได้รับสิ่งเหล่านี้ มีรายหนึ่งที่พิการ คือนอกจากจะเลี้ยงดูครอบครัวไม่ได้แล้ว ยังเป็นภาระด้วย เงินชดเชยนี้จะช่วยผ่อนหนักเป็นเบาได้

-
แต่มันไม่สามารถขจัดความทุกข์ได้ทั้งหมด มันมีกรณีที่ถูกยิง เขาไม่ได้เกี่ยวข้องกับผู้ชุมนุมเลย เขาเดินออกมาทานข้าวกันกับครอบครัวแถวคลองเตย ถูกยิงที่กลางหลัง พิการ อาชีพคือเข็นรถขายของ ลูก 2 คนยังเล็กอยู่ ลูกไปโรงเรียน ภรรยาต้องดูแลสามีที่นอนพิการอยู่ที่บ้าน รายได้มาจากไหน ต้องหาหมอทุกวัน เงินชดเชยเหล่านี้ก็จะช่วยทำให้สามชีวิตในครอบครัวพอจะไปต่อได้ ซึ่งในที่สุดเขาก็เสียชีวิต

-
แต่ 7.5 ล้านก็มาพร้อมกับท่าทีว่า ให้จบๆ กันไปซะ

-
พวงทอง: มันมีหลากหลายอารมณ์ ส่วนของญาติบอกว่าไม่จบแน่ อีกอันหนึ่งเงินนี้ยังช่วยให้คนเป็นพ่อเป็นแม่ที่สูญเสียลูก ด้านหนึ่งทำให้เขามีเวลา มีโอกาส คนกลุ่มนี้ส่วนมากเป็นคนหาเช้ากินค่ำ ขาดรายได้ไปวันหนึ่งก็ลำบากแล้ว แต่เงินส่วนนี้ อย่างน้อยที่สุดยังทำให้เขาสละเวลาจากการหาเช้ากินค่ำมาเคลื่อนไหว เรียกร้อง ประท้วงได้ อันนี้สำคัญ ถ้าญาติไม่ทำ เรื่องเหล่านี้จะหายไปจากสังคมไทยเร็วมาก
-

ส่วนของเราเองก็ยืนยันว่าไม่จบ นี่เป็นแค่ส่วนเดียวเท่านั้น บางกรณีในต่างประเทศ ญาติไม่รับเงินด้วยซ้ำไป ตราบที่ความยุติธรรมยังไม่มา มันมีส่วนของพรรคเพื่อไทยของคุณทักษิณเอง เวลาที่เขาโฟนอินมา จะพูดลักษณะว่าให้ลืมกันไป ให้ประนีประนอม ดิฉันคิดว่าทำแบบนี้ พรรคเพื่อไทยและคุณทักษิณดูเลวลงในทัศนะคนเสื้อแดงจำนวนมาก อาจจะไม่ใช่ทั้งหมด คนเสื้อแดงจำนวนมากก็อาจจะรู้สึกว่าได้รับชดเชยไปแล้ว พอแล้ว อันนี้ก็เป็นปัญหาอันหนึ่งของสังคมไทย คือดูเบาความทุกข์ ความคับแค้นของคนที่สูญเสีย คิดว่าเงินจะทดแทนความสูญเสียได้ทั้งหมด เป็นปัญหาหนึ่งของการมองเรื่องปรองดองในสังคมไทยด้วย เป็นการดูถูกด้วย

-
ความรับผิดทางการเมืองมีหลายระดับตั้งแต่ผู้นำรัฐบาล ผู้นำกองทัพ เจ้าหน้าที่ระดับปฎิบัติการ จนถึงประชาชนไม่ว่าเขาจะทำด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม เราจะสร้างบรรทัดฐานและจำแนกแยกแยะการรับผิดของคนแต่ละกลุ่มอย่างไร

-
พวงทอง: แต่ละสังคมที่ผ่านความรุนแรง ระดับของการรับผิดก็แตกต่างกันไป บางสังคมเอาเฉพาะผู้นำที่สั่งการ บางสังคมลงไประดับนายทหารที่มีอำนาจบังคับบัญชา ระดับสัญญาบัตรที่เกี่ยวข้องกับการบังคับบัญชา บางสังคมแม้กระทั่งนายทหารระดับล่าง ถ้าพบว่าคุณทำเองโดยไม่มีคำสั่ง เป็นการทำตามอำเภอใจ สะใจ ก็ถูกเอาผิดด้วยเหมือนกัน อันนี้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ไม่ได้เกิดจากการตัดสินใจของคนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมไม่กี่คน แต่ก็ต้องดูด้วยว่าระดับความขัดแย้ง ความตึงเครียดในสังคมเป็นอย่างไร เพราะการที่คุณจะเอาผู้มีอำนาจที่กระทำความรุนแรงต่อประชาชนอย่างกว้างขวางมาลงโทษได้นั้น โครงสร้างทางอำนาจต้องเปลี่ยนด้วย แต่โครงสร้างทางอำนาจไม่ได้เปลี่ยนอย่างฉับพลัน ไม่ใช่ว่ารัฐบาลทหารลงจากอำนาจวันนี้ วันพรุ่งนี้อำนาจจะเปลี่ยนถ่ายไปสู่รัฐบาลพลเรือนอย่างเบ็ดเสร็จ เขายังมีเครือข่าย มีกลไกของเขาอยู่ หลายๆ คนก็ยังมีอำนาจอยู่ สิ่งสำคัญจะต้องเกิดการเปลี่ยนผ่านโครงสร้างทางอำนาจ

-
ปัญหาอันหนึ่งของสังคมไทย คือดูเบาความทุกข์ ความคับแค้นของคนที่สูญเสีย คิดว่าเงินจะทดแทนความสูญเสียได้ทั้งหมด เป็นปัญหาหนึ่งของการมองเรื่องปรองดองในสังคมไทยด้วย

-
แต่กรณีสังคมไทย มันไม่เกิดขึ้น แม้กระทั่งหลังกรณี 6 ตุลา มันไม่ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางอำนาจจริง คนที่เกี่ยวข้องกับการใช้ความรุนแรงยังมีอำนาจอยู่ในเชิงโครงสร้าง ยังมีกลไกที่ออกมาปกป้องในการออกกฎหมายนิรโทษกรรม รวมถึงกระทั่งกลไกในการโฆษณาชวนเชื่อที่ทำให้คนส่วนใหญ่ยอมรับแนวทางการปรองดองแบบไทยๆ

-
กรณีของไทย ไม่ต้องพูดการเอาผิดกับทหารระดับล่าง เอาแค่ผู้นำไม่กี่คนที่เกี่ยวข้องในการตัดสินใจ สั่งการ ระดมทหารออกมา อนุมัติงบประมาณ อนุมัติการเบิกจ่ายกระสุนปืน การจัดตั้งหน่วยงาน แค่นี้ยังทำไม่ได้เลย หลายปีที่ผ่านมา ไม่เคยทำได้ กระบวนการยุติธรรมที่กำลังจะเริ่มขึ้น ในที่สุดก็ถูกระงับไป มันชี้ให้เห็นว่ามีเครือข่ายของอำนาจที่จะปกป้องคนเหล่านี้อยู่

-
สำหรับดิฉัน จุดเริ่มต้นของสังคมไทย ถ้าจะมีการเอาผิดผู้ที่กระทำผิดได้จริง ดิฉันขอเฉพาะผู้นำที่เกี่ยวข้องในการสั่งการก่อน แค่นี้แหละ และนี่จะเป็นบทเรียนที่ป้องกันไม่ให้ความรุนแรงเกิดขึ้น ถ้ามันจะเกิดขึ้นอีก การจะเอาผิดคนที่ทำผิดซ้ำสองซ้ำสามอีกก็จะมีความเป็นไปได้มากยิ่งขึ้น

-
มีการตั้งข้อสังเกตว่า แล้วอย่างสไนเปอร์ที่ยิงลงมาจากบนรางรถไฟฟ้าล่ะ ใช่ว่าเจ้าหน้าที่เหล่านี้ถูกสั่ง แต่ในมิติความเป็นมนุษย์ เขาก็เป็นผู้ลั่นไกสังหาร

-
พวงทอง: นี่ก็เป็นประเด็นสำคัญ แต่อย่างที่บอก คือคนที่เสนอว่าควรต้องเอาผิดกับเจ้าหน้าที่รัฐด้วยที่ไม่ขัดขืนคำสั่ง เพราะในที่สุดแล้วคุณต้องมองว่าคนแต่ละคนไม่ใช่แค่ตัวน็อต แต่สามารถคิดได้ รู้สึกได้ ตัดสินใจได้ ถ้าคำสั่งไม่ถูกต้อง เขาไม่ทำก็ได้ แต่ถ้าคุณทำ คุณก็ต้องรับผิดชอบ โอเค นี่เป็นมิติที่น่าสนใจ

-
แต่อย่างที่บอก ภายใต้สถานการณ์การเมืองที่เป็นอยู่ คิดว่ายากมากๆ ที่จะเรียกร้องให้มีการเอาผิดกับเจ้าหน้าที่ระดับล่างได้ สองก็คือว่าวัฒนธรรมในกองทัพ การที่คุณเอากองทัพเข้ามาสลายการชุมนุม กองทัพไม่ได้ถูกฝึกมาให้สลายการชุมนุมโดยสันติวิธีและให้เกิดการสูญเสียน้อยที่สุด เขาถูกฝึกให้ยิง Shoot to Kill ยิงแล้วอีกฝ่ายหนึ่งต้องล้มลง จะตายหรือบาดเจ็บสาหัสไม่ใช่ประเด็นที่ดิฉันคิดว่าเขาสนใจเท่าไหร่ นี่ก็เป็นวัฒนธรรมกองทัพที่จะต้องถูกแก้ไขด้วย รวมถึงคนที่ตัดสินใจเอากองทัพเข้ามาสลายการชุมนุมโดยใช้กระสุนจริง ทั้งที่รู้อยู่ว่าผลที่จะออกมาเป็นยังไง ต้องรับผิดชอบมากกว่า

-
ที่จริงเรามีหน่วยปราบจราจลของตำรวจอยู่ มีเครื่องมือ แต่ไม่ถูกใช้ เพราะในปี 2553 มันคือการทำสงครามในเมือง เขาใช้ยุทธศาสตร์การทำสงครามในเมืองเข้ามาจัดการปัญหา การบอกว่าคนที่สั่งการไม่รู้ว่าผลจะออกมายังไง เป็นไปไม่ได้ คุณระดมพลทหารออกมา 67,000 กว่านาย อนุมัติให้มีการเบิกกระสุนออกมาเกือบ 4 แสนนัด มันคืออะไร กระสุนจริงนะคะ กระสุนสไนเปอร์อีก 2,000 นัด เวลาคุณเซ็นคำสั่งเหล่านี้ คุณจะบอกว่ามันจะไม่ถูกใช้เลยอย่างนั้นเหรอ เป็นไปไม่ได้ที่เขาจะไม่รู้ว่าผลที่ออกมาจะเป็นยังไง

-
การให้นำคนผิดมาลงโทษเป็นสิ่งที่ต้องเกิดขึ้น อีกด้านหนึ่งประชาชนจำนวนมากที่อาจจะยังติดคุกอยู่ ยังต้องคดี พวกเขาอาจแค่ต้องการอิสรภาพ ต้องการการนิรโทษกรรม แม้จะต้องแลกกับการลอยนวลของผู้สั่งการ นี่อาจเป็นความต้องการพื้นฐานของเหยื่อทางการเมืองจำนวนมากที่จับต้องได้มากกว่า เห็นผลทันที

-
พวงทอง: พูดเฉพาะกรณีปี 2553 สิ่งที่เกิดขึ้น ที่พูดว่าถ้าคนที่ถูกจับกุมคุมขังได้รับอิสรภาพแล้วไม่ต้องเอาผิดคนที่รับผิดชอบ มันไม่ได้เกิดขึ้นในขณะนี้ สิ่งที่เราเห็นคือประชาชนถูกจับกุมคุมขัง ถูกดำเนินคดีไปหมดแล้ว บางคนก็ถูกปล่อยออกมาแล้ว แต่ส่วนของผู้มีอำนาจยังไม่ได้ถูกดำเนินคดีเลย ยังไม่ได้เริ่มเลยด้วยซ้ำไป แล้วโอกาสที่จะเอาคนเหล่านี้มาดำเนินคดี มันเป็นไปไม่ได้เลยภายใต้รัฐบาลทหาร อาจต้องรอกันอีกสิบปี ฉะนั้น นี่มันไม่ได้เกิดขึ้นจริง มันแย่กว่าในอดีตด้วยซ้ำที่นิรโทษกรรมแล้ว ผู้มีอำนาจได้รับนิรโทษกรรม ประชาชนที่ติดคุกอยู่ก็ได้ด้วย อย่างในกรณี 6 ตุลา

-
กรณีของไทย ไม่ต้องพูดการเอาผิดกับทหารระดับล่าง เอาแค่ผู้นำไม่กี่คนที่เกี่ยวข้องในการตัดสินใจ สั่งการ ระดมทหารออกมา...แค่นี้ยังทำไม่ได้เลย หลายปีที่ผ่านมา ไม่เคยทำได้ กระบวนการยุติธรรมที่กำลังจะเริ่มขึ้น ในที่สุดก็ถูกระงับไป มันชี้ให้เห็นว่ามีเครือข่ายของอำนาจที่จะปกป้องคนเหล่านี้อยู่

-
ถ้าจะมีการรื้อฟื้นคดีต่างๆ เหล่านี้ขึ้นมาอีก ซึ่งดิฉันคิดว่าเป็นไปไม่ได้ในเวลาอันใกล้ อย่างถ้าวันนี้บอกว่านิรโทษกรรมให้กับทุกฝ่าย ทั้งผู้นำและประชาชนที่ติดคุกอยู่ด้วย ดิฉันไม่เห็นด้วย ดิฉันคิดว่าส่วนของประชาชนเขาได้รับโทษไปแล้ว ถ้าจะรื้อฟื้นคดีเหล่านั้นในส่วนของประชาชน ดิฉันคิดว่าต้องรื้อฟื้นมาดูว่าอันไหนที่มีปัญหาและเขาไม่สมควรที่จะติดคุก ก็ต้องได้รับการชดเชย แต่ถ้าเขาทำผิดจริง มีหลักฐานหนักแน่น ก็ต้องพิจารณาว่าโทษที่เขาได้รับไปแล้วมันเพียงพอหรือยัง แต่ระหว่างที่รื้อฟื้นคดีขึ้นมาจะต้องให้เขาได้รับการประกันตัว ส่วนคดีของผู้นำก็ต้องเกิดขึ้นไปพร้อมกันด้วย

-
Cr. prachatai