ยินดีต้อนรับ

พลเมืองที่รอบรู้เท่าทัน คือ พลังประชาธิปไตยที่แท้จริง
Well-informed citizens are the true democratic forces.

Friday, March 11, 2016

รายการ รู้ไหม ใครทำให้คนไทยยากจน หัวข้อ "สวัสดีประเทศไทย เราจะเอายังไงกันดีจ๊ะ?"

ลุงเย็นลมป่า 10 มีค 59

รายการ รู้ไหม ใครทำให้คนไทยยากจน

หัวข้อ "สวัสดีประเทศไทย เราจะเอายังไงกันดีจ๊ะ?"

ลุงเย็นลมป่า 10 มีค 59 รู้ไหม ใครทำให้คนไทยยากจน

ลุงเย็นลมป่า 10 มีค 59

รายการ รู้ไหม ใครทำให้คนไทยยากจน 

หัวข้อ "สวัสดีประเทศไทย เราจะเอายังไงกันดีจ๊ะ?"

หลังจากมีการรัฐประหาร เคยมีการคืนประชาธิปไตยให้กับประชาชนจริงๆ หรือไม่

ในประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ผ่านมา หลังจากมีการรัฐประหาร เคยมีการคืนประชาธิปไตยให้กับประชาชนจริงๆ หรือไม่ 

รัฐประหารเท่าที่ผ่านมาในอดีต โดยเฉพาะก่อนปี 2516 รัฐประหารมันเป็นการสืบทอดอำนาจทุกครั้ง เพราะการรัฐประหารมันคือการเข้ามายึดอำนาจ ฉะนั้นรัฐประหารที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็น รัฐประหาร 2490 ซึ่งครองอำนาจอยู่ถึง 10 ปี รัฐประหาร 2501 ก็พาพวกจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร มีอำนาจไปอีก 16 ปี ฉะนั้นการที่คณะรัฐประหารยึดอำนาจ และจะสืบทอดอำนาจมันเป็นเรื่องปกติธรรมดามาก และเป็นเช่นนี้เสมอมา

จนกระทั่งหลัง 14 ตุลาคม 2516 การรัฐประหารเพื่อสร้างระบอบเผด็จการ แล้วสืบทอดอำนาจ มันเริ่มถูกต่อต้าน และมีแนวโน้มที่จะเป็นไปไม่ได้ ดังนั้นรัฐประหารที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น คณะรัฐประหารปี 2534 ไม่ตั้งรัฐบาลเอง ต้องไปเชิญ อานันท์ ปันยารชุน มาเป็นนายกรัฐมนตรี โดยทหารทำหน้าที่โอบอุ้มอยู่อีกที

รัฐประหารที่พยายามสืบทอดอำนาจแบบตรงๆ มันพังครั้งสุดท้ายในสมัยของรัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร ซึ่งมาจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เขาตั้งใจจะอยู่ในอำนาจนาน 12 ปี แต่อยู่ได้ปีเดียวก็โดนรัฐประหารซ้อน โดย พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน แล้วตั้งพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยภายหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร 2521 เกรียงศักดิ์ ได้ขึ้นมาเป็นนายกจากการสนันสนุนของรัฐสภา อยู่ได้ 2 ปีกว่า ก็มีการเปลี่ยนอำนาจ การที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรี จะพูดว่าเป็นมติของรัฐสภาก็ได้ จะพูดว่าเป็นยึดอำนาจซ้อนอีกครั้งก็ได้

แต่สิ่งที่เราเห็นคือ การสืบทอดอำนาจแบบตรงๆ มันหมดความชอบธรรม อย่างในยุคสุจินดา คราประยูร ก็พยายามที่จะสืบทอดอำนาจ แต่ก็ต้องมาด้วยกระบวนการรัฐสภา จนมาปีถึงปี 2549 เมื่อพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ทำรัฐประหารเห็นได้ชัดว่ารักษาอำนาจไว้สั้นมาก ต้องตั้งรัฐบาลซึ่งถ้าพูดแบบรวมๆ คือเป็นรัฐบาลคนนอกคือ ไปเชิญพลเอกสุรยุทธ จุลานนท์ มาเป็นนายกฯแทน และก็ต้องรีบดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญ และให้มีการเลือกตั้งภายใน 1 ปี

ถ้าถามว่ารัฐประหารเมื่อปี 2549 ตั้งใจจะสืบทอดอำนาจไหม ผมคิดว่ามันเปลี่ยนลักษณะไป เพราะทหารไม่ได้รัฐประหาร เพราะว่าต้องการจะสอบทอดอำนาจของทหารเอง แต่เป็นการรัฐประหารเพื่อชนชั้นนำ พูดง่ายๆ ว่าเป็นการโค่นทักษิณตามใจชนชั้นนำ เมื่อรัฐประหารแล้วก็ต้องเปิดฉากให้ชนชั้นนำเข้ามาจัดการ เซ็ตระบบใหม่ แล้วให้มีการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นการเลือกตั้งที่คาดว่าฝ่ายทักษิณจะต้องเป็นฝ่ายแพ้ แต่ผลการเลือกตั้งมันกลับตาลปัตร

ทีนี้มาดูรัฐประหารครั้งล่าสุดเมื่อปี 2557 หลังจากรัฐประหาร หัวหน้าคณะรัฐประหารก็มาเป็นนายกฯ และครองอำนาจในระยะเวลาที่นานกว่าที่ผ่านมา พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าประเทศไทยไม่ได้ก้าวหน้าอย่างที่คิด แต่คำถามคือ ทำไมประยุทธ์ ถึงมาได้ ทำไมการรัฐประหารครั้งนี้จึงเกิดขึ้นได้ เป็นเพราะทหารเข้มแข็ง และต้องการอำนาจเองหรือเปล่า พูดกันอย่างแฟร์ๆ นะ ผมคิดว่าไม่ ถ้าเราย้อนกลับไปในปี 2556-2557 เราจะเห็นความพยายามที่จะทำให้เกิดรัฐประหารหลายครั้ง และฝ่ายทหารพยายามอย่างมากที่จะไม่ทำรัฐประหาร ไม่ใช่พยายามทำ แต่ผมคิดว่าชนชั้นนำต่างหากที่สร้างสถานการณ์ และปูทางมาสู่การรัฐประหารของทหาร พร้อมทั้งยินยอมให้ทหารกุมอำนาจในลักษณะนี้ ถ้าเปรียบเทียบกับ สฤษดิ์-ถนอม-ประภาส อันนั้นทหารยึดอำนาจ สถาปนาอำนาจตัวเอง แต่อันนี้มันเกิดจากความเห็นพ้องของชนชั้นนำไทย

การปูทางสู่การรัฐประหารมันเริ่มจากการชุมนุมของ กปปส. จากนั้นกลไกรัฐที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ร่วมมือกันที่จะไม่ทำอะไร กปปส. ปล่อยให้เขาทำอะไรก็ได้ตามใจชอบ จะปิดถนน จะยึดสถานที่ราชการ 5-6 เดือน จะอะไรก็แล้วแต่ทำได้หมด โดยที่ไม่มีใครเข้าไปจัดการ จากนั้นรัฐบาลถูกบีบให้ยุบสภา โดยพรรคประชาธิปัตย์ลาออกจากสภาทั้งพรรค รัฐบาลยิ่งลักษณ์ก็ประกาศยุบสภา จากนั้นก็มีการใช้กระบวนการต่างๆ เพื่อทำลายการเลือกตั้ง ทำให้เลือกตั้งจัดขึ้นไม่ได้ กกต.มีหน้าที่จัดการเลือกตั้ง ก็ไม่จัดการเลือกตั้ง ระหว่างรอการเลือกตั้งครบทุกเขต เป็นช่วงรัฐบาลรักษาการณ์ ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินถอดถอนยิ่งลักษณ์ให้พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยเหตุที่มีการโยกย้ายข้าราชการหนึ่งคน ซึ่งเป็นข้อกล่าวหาที่งี่เง่ามาก แต่ คสช. ย้ายข้าราชการเป็นร้อยก็ไม่เห็นมีปัญหาอะไร หลังจากปลดยิ่งลักษณ์แล้ว นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล มาเป็นรักษาการณ์นายกรัฐมนตรี รัฐบาลก็ไม่มีอำนาจอะไร ต้องรอการเลือกตั้งเสร็จสิ้น กกต. ขณะนั้นก็ไม่ยอมจัดการเลือกตั้ง กปปส. ก็สร้างความวุ่นวายโดยไม่มีใครทำอะไร

การแก้ปัญหาการเมืองจะแก้ได้อย่างไร ในนานาประเทศเขาแก้ด้วยการเลือกตั้ง แต่ในสังคมไทยชนชั้นนำช่วยกันทำให้การเลือกตั้งเป็นไปไม่ได้

ฉะนั้นสิ่งที่ปูทางมาทั้งหมด บอกชัดแล้วใช่ไหมว่า ครั้งนี้ไม่คืนอำนาจให้ประชาชนง่ายๆ

เอาเข้าจริงถามว่าฝ่ายทหารเองอยากคืนอำนาจไหม ผมคิดว่า คงอยากคืนอยู่ แต่ประเด็นสำคัญคือ พวกเขายังแก้โจทย์ไม่ตก คือยังนึกไม่ออกว่าทำอย่างไรที่จะทำให้ฝ่ายทักษิณแพ้การเลือกตั้ง เขายังแก้โจทย์นี้ไม่ตก ที่เขาต้องเตะถ่วงแบ่งอำนาจออกมาส่วนหนึ่ง เพราะเขากลัวว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่มีการเปิดให้มีการเลือกตั้งตามขั้นตอนประชาธิปไตย ฝ่ายทักษิณชนะเลือกตั้งทันที และไม่ใช่แค่เขา เราทุกคนก็รู้ว่าฝ่ายเขาไม่มีทางชนะ ฉะนั้นนี้เป็นปัญหาหลักที่เขาแก้ไม่ได้ รัฐธรรมนูญที่ร่างออกมาแล้วใช้ไม่ได้ก็เป็นเพราะตรงนี้ ไม่ว่าใครจะมาร่างมันก็ต้องบิดเบือนหาทางทำให้เสียงประชาชนไม่มีความหมาย นั่นเท่ากับว่ารัฐธรรมนูญไม่เป็นประชาธิปไตย เมื่อไม่เป็นประชาธิปไตยก็ไม่ได้รับการยอมรับ และเมื่อไม่ได้รับการยอมรับ ทุกอย่างมันก็วนอยู่อย่างนี้

ปัญหาหลักไม่ได้อยู่ที่ตัวรัฐธรรมนูญ ไม่ได้อยู่ที่ความจงใจหรือไม่จงใจสืบทอดอำนาจ แต่มันเป็นปัญหาที่ตัวชนชั้นนำทั้งชนชั้นที่แก้ปัญหานี้ไม่ตก ที่จะจัดการเลือกตั้งอย่างไรที่จะทำให้พรรคเพื่อไทยไม่ชนะ หรือชนะแล้วทำอย่างไรให้บริหารประเทศไม่ได้ เขายังหาสูตรสำเร็จไม่ได้ เมื่อยังทำไม่ได้การสืบทอดอำนาจหรือให้กลุ่มตัวเองมีอำนาจไว้ก่อน มันเป็นวิธีการที่ปลอดภัยสำหรับพวกเขา

คือเมื่อไรก็ตาม สมมติมีใครปิ๊งปั๊งไอเดียที่สามารถทำอะไรก็ตามที่ไม่น่าเกลียด แล้วสามารถทำให้เพื่อไทยไม่สามารถชนะเลือกตั้งได้ หรือชนะแล้วก็ไม่สามารถทำงานได้เขาก็จะทำทันที


*****

เสรีชน


ทำไมอีเปรม(ประธานองค์มนตรี เปรม ติณสูลานนท์) ถึงเกลียดและอิจฉา ดร.ทักษิณ นายกของประชาชน

โดย เสรีชน

ทำไมอีเปรม(ประธานองค์มนตรี เปรม ติณสูลานนท์)

ถึงเกลียดและอิจฉา ดร.ทักษิณ นายกของประชาชน


ขอทบทวนความทรงจำบางอย่าง ทำไมอีเปรมเกลียดทักษิณ จากที่ผมลองวิเคราะห์และข้อเท็จจริงบางอย่างที่ตรวจพบ


1 นิสัยของสองคนเข้ากันไม่ได้ อีเปรมเป็นขุนนางผูกขาดระบบ อำมาตย์ มาอย่างยาวนาน ทำอะไรชอบคิดแต่สร้างภาพถึงความสง่างาม และจะซ่อนความเลวระยำไว้ใต้พรม อีเปรม ค่อยๆ พูด ค่อยคิดแบบข้าราชการที่เขารับราชการมานานถึง 39 ปี แต่ ดร.ทักษิณเป็นคนรุ่นใหม่ เฉี่ยว ทำงานไว สไตล์เจ้าของธุรกิจและ CEO ที่สำคัญ ดร.ทักษิณรับไม่ได้กับระบบราชการที่จำกัดไปด้วยกรอบของกฎหมาย ดร.ทักษิณไม่โตในระบบราชการ แม้เขาเป็นพันตำรวจโท แต่ก็ไม่เคยทำงานเด่น เป็นดอกเตอร์ แต่นายกของประชาชนคนนี้ เขาผ่านการทำงานและสำเร็จในเชิงธุรการ เมื่อนิสัยมีนิสัยเห้นความเดือดร้อนของประขาขนเป้นที่ตั้ง จึงทำให้ อำมาตย์เผด็จการ ทรราช และไม่ชอบและธาตุแท้ ของความเป้นคนมันต่างกัน ท้ายสุดก็ไปกันไม่ได้

2 อีเปรม อยู่แวดล้อมด้วยขุนนางและคนอย่างองค์มนตรีที่มีลักษณะะจารีตนิยม อำมาตย์เผด็จการทรราช ขวาจัด ทั้งพลเอกพิจิตร เกษม วัฒนชัย คนนี้เคยร่วมกับ ดร.ทักษิณตอนหลังขัดใจกัน เลยออกมาก็พาลดร.ทักษิณไปด้วย อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ ชาญชัย ลิขิตจิตถะ สองคนนี้ขวาตกขอบและสนับสนุนการล้ม ดร.ทักษิณ ส่วน สถุนธานินทร์ กรัยวิเชียร คนนี้ขวาตกขอบ คลั่งเจ้า บ้าหมอดู กราบไหว้หมาเป็นอาจินต์ หรือคนนอกองคมนตรี แต่เป็นคนใกล้วังอย่างนายสุเมธ เฟอรารี่ ที่ชอบดูถูกประชาชน ว่า ยังไม่ความพร้อมที่จะเป็น ประชาธิปไตย อดีตเลขาสภาพัฒน์ ตัวนี้ ทำให้แนวคิดกลุ่มคนพวกนี้เป็นจารีตนิยมสุดกู่ หนักข้ออีเปรม ยังนำเอาพลอากาศเอกชลิต รอง คมช มาร่วมงานองคมนตรีอีก ทำให้แนวคิดไปกันไม่ได้กับฝ่ายประชาชน ฝ่ายเสรีนิยม และโลกาภิวัฒน์ พวกนี้นิยมให้ประเทศเดินทางแบบเก่า สมัยอีเปรมปกครองเมื่อสามสิบปีก่อน ไม่ต้องการใช้เทคโนโลยี่สื่อสาร เนต หรือเปิดประเทศมากมายนัก กลุ่มจารีตนิยมมักเห่อเหิมกับยศ ชั้น การกราบไหว้ มอบคลานของประชาชน แต่เสรีนิยม รับกับยุคเปลี่ยนผ่าน และหลักสิทธิมนุษยชน คนเท่าเทียมกัน ทำให้สองคนนี้เป็นผู้นำสองสำนักและ clash กันในที่สุด


3 อีเปรม เห็นใครดีไม่ได้ เห็นใครได้ไม่ดี พร้อมเป็นทหารเฒ่าที่มีความอิจฉาในกลมสันดาน ตามคำของท่านสมัครที่วายชนม์ไปแล้ว ขี้ริษยา ใครขัดคอมักจำ และอาฆาต ไปดูที่พลตรีมนุญกฤติเล่าเรื่องอีเปรม ริษยาพลเอกเสริม ทำทุกอย่างให้ตนได้ ผบ ทบ นำประเทศรบลาวเพราะไม่พอใจลาวที่ไปคบเวียดนาม ต้องการข่มลาว พอรบแพ้ที่ร่มเกล้า อีเปรมให้ชวลิตรับผิดแทน อีเปรมเขาภูมิใจที่เป็นนายกไทยแปดปี ติดต่อกัน แม้จะมาด้วยปืน อำนาจทหารหมาหน้าตัวเมียเหล่านี้ก็ดีใจ พอดร.ทักษิณเป็นนายกปีที่หก อีเปรมจึงต้องหาทางกำจัดเสีย มิฉะนั้น ทักษิณจะเบรก record เป็นนายกแปดปี หรืออาจจะถึงสิบสองปีได้


4 การแต่งตั้งโยกย้ายโผทหาร ปกติ นายกฯ ทุกคนจะส่งให้อีเปรมดูและขอคำปรึกษา แต่ดร.ทักษิณไม่ทำ กลับประกาศมาได้ว่า ผ่านมือนายกแล้ว ใครแก้ไม่ได้ ทำให้อีเปรมแค้นมาก เพราะแก่หงำเหงือกไม่เคยโดนเด็กคราวลูกพูดกระทบให้เจ็บช้ำถึงปานนี้ ประกอบกับนายพลหลายคนรวมทั้งบรรณวิทย์ ก็มาร้องขอให้ป๋าช่วย แต่ป๋าทำอะไรไม่ได้ ทำให้คนแก่ดูด้อยค่า เหมือนหมาหัวเน่า เมื่อถึงคราวที่อีเปรมต้องรุก ขึ้น บงการ และเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการทำรัฐประหาร ตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน จนถึง การสั่งลอบสังหาร ให้ดร.ทักษิณตาย ถึง 4 ครั้ง ขณะที่นายกคนอื่นก่อนหน้าที่ถูกขับไล่ไป โดนแค่ถอดจากตำแหน่ง แล้วกลับมาใช้ชีวิตปกติได้ ทั้ง เสนีย์ ธานินทร์ ชาติชาย แต่ไม่ใช่ ดร.ทักษิณที่เขากะเอาให้ตาย แต่กลับไม่ยอมคลานมากราบเท้า อีเปรม แต่กลับนำความที่เกิดขึ้นกับเขา บอกเหล่าให้ชาวโลกได้รับรู้ แม่เวลาจะผ่านมากว่า 10 ปี แล้วก็ตาม คำสัมษาณ์ของ ดร. ทักษิญ ทำเอาโลกตลึง ไม่คิดว่า ระบอบอำมาตย์ทรราช ในไทย จะโหดร้าย ถึงขนาดนี้


5 ความขัดแย้งระหว่าง คนกับเหี้ย เริ่มออกอาการลามปามมาถึงเรื่องจัดงานในหลวง อีเปรม บอก ดร.ทักษิณว่า การจัดงานฉลองในหลวงครองราชย์ 60 ปีน่ะ ขอให้ดร.ทักษิณออก เพราะคนประท้วงดร.ทักษิณมาก เป็นประธานจัดงานแล้วคนจะไม่ยอมรับ (แต่ผิดคาดภายหลังการจัดงานมีคนมาร่วมที่บรมรูปทรงม้ากว่าเจ็ดหมื่นคน)

ดร.ทักษิณบอก การเมืองคือ การเมือง แต่การจัดงานเทิดพระเกียรติเป็นเรื่องความจงรักภักดี ผมทำไปหมดแล้ว จัดวางคนไปแล้ว ไม่ยอมออก ถ้าออก ใครจะมาเป็นแทนผม

อีเปรมบอกว่า จะรับสานงานต่อให้ ดร.ทักษิณบอกไม่เห็นด้วย เพราะการที่คนมาประท้วง ไม่ได้แปลว่าผมทำผิด คนกลุ่มใหญ่สนับสนุนผม เลือกตั้งที่ยุบสภา ผมก็ชนะอีก ไม่อาจทำตามอีเปรม แนะได้

และแล้ว ความร้าวลึก ระหว่าง นายกของประชาชนกับคนอย่าง เริ่ม เหี้ยก็เริ่ม


อีเปรม โกรธจัด ยิ้มๆ แบบเคืองในใจ แต่สายตาแสดงออก จากนั้นทั้งสองคนก็ไม่เจอกันอีก มาเจอกันอีกที ตอนงานศพพ่อทรราช พลเอกอนุพงษ์ ตาย ทักษิณยกมือไหว้ อีเปรมก็ทักว่า สบายดีหรือ ดร.ทักษิณบอกสบายดี ป๋าล่ะครับ อีเปรมสวมวิณณานพญาโศก และบอกว่า คนแก่จะเอาสบายยังไงได้ ก็แค่ครั้งสุดท้ายที่พูดในที่สาธารณะ แต่มีการเจรจาลับกันอีกหลายหน ตอนแดงประท้วงแล้วถูกฆ่ากลางกรุงในปี 52 – 53

6 อีเปรมอยู่เบื้องหลังการรัฐประหารชัดเจน จากเอกสารของวิกีลิกส์ก็บอกชัด พลเอกสนธิ บัง เคยสารภาพว่า อีเปรมพาเข้าเฝ้าเอง ไม่ใช่เขาขอเข้าเฝ้า ซึ่งหากพลเอกบังพูดความจริง การกระทำของอีเปรมคือ การไม่ผิดคำสาบานที่ปฎิญาณตนว่าจะพิทักษ์รักษารัฐธรรมนูญ แต่นี่เขากลับทำตรงข้ามคือ ฉีก รธน เสียเอง พอรัฐประหารเสร็จ สองวัน สนธิ นำคณะทหารมาคารวะอีเปรม อีเปรมสวมวิญญาน ฮองเฮา ตรวจแถวทหารชั่วเหล่านั้นด้วยใบหน้ายิ้มแย้ม และด่า ดร.ทักษิณโดนยกคำพูดกระทบทำนองว่า คนโกง คนไม่ดี พระสยามเทวาธิราชลงโทษ


อีเปรมในบท ฮองเฮา ทำเสื่อมเสียพระเกียรติเพราะองคมนตรีต้องไม่ยุ่งการเมือง ดูรัฐธรรมนูญ มาตรา 14 วรรคท้าย องคมนตรีต้องไม่ฝักใฝ่พรรคการเมือง แต่นี่อีเปรมเขาเสือก และโดดมาเล่นการเมืองเต็มตัว อาทิ คนไทยโชคดีที่ได้คุณอภิสิทธิเป็นนายกฯ จากการตั้งกันโดยทหาร และเป็นฆาตกร 99 ศพ ในเวลาต่อมา หรือการเตือนจิ๋วว่า สมัครพรรคเพื่อไทยระวังจะกลายเป็นคนทรยศบ้านเมืองหรือไม่จงรักภักดี ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่น่าเชื่อว่า คนเป็นระดับประธานองคมนตรีสำรอก แสดงความอิจฉาออกมาได้แบบหมาๆ ได้ถึงเพียงนี้


7 อีเปรมชอบหลักการ divide and rule แบบที่เขาครองตำแหน่งนายกแปดปี โดยการกดขี่ ประชาชนใต้ปกครอง ต้องการให้พรรคการเมืองอ่อนแอ มีพรรคเล็กๆ มากพรรค แต่ดร.ทักษิณสู้ตาม รธน 40 ที่ต้องการเห็นพรรคการเมืองเข้มแข็งสู้กันที่อุดมการณ์ของพรรคใหญ่ เขาต้องการให้มีการรวมศูนย์อำนาจภายใต้การจัดการแบบ CEO ของภาคเอกชน วิธีคิดของสองคนนี้จึงไปคนละขอบฟ้า

ที่สุด เมื่อมีโอกาส แก้ รธน เขาต้องการให้พรรคการเมืองพลังประชาชนถูกยุบ กระจายไปหลายพรรค แต่อีเปรมทำไม่สำเร็จ เพราะเพื่อไทยกลับได้เสียงมากกว่าสมัยพลังประชาชนคือ 265 ในการเลือกตั้ง กค 54 เพิ่มจาก 233 เสียงในปี 50 ทำให้อีเปรมผิดหวังรุนแรง กับการบนบานสารการ ในครั้งนี้

สถานะปัจจุบัน
จริงๆ อีเปรมรู้แล้วว่า เอา ดร.ทักษิณไม่ลง และดูเหมือนว่า กาลเวลาที่ผ่านมา จะทำให้ ดร. ทักษิญ แข็งแรงขึ้นเป็นเงาตามตัว ดร. ทักษิญเขาพร้อมจะประนีประนอมในระดับหนึ่ง


แม้จะมีข่าวการต่อรอง ให้ ดร.ทักษิณกลับ แต่เงินกว่า 47000ล้านบาทไม่คืนให้ ด้วยความเสียดายเงินของคนอื่น


อีเฒ่าสารพัดพิษแห่งการเมืองไทย ตอนนี้ทำอะไรมากนักไม่ได้เพราะหลายฝ่ายไม่ยอม จะตาย วันตายพรุ้ง แต่ก็รอจังหวะเอาคืน นส.ยิ่งรักและ ดร.ทักษิณ

เพียงแต่ว่า ยิ่งสู้ ยิ่งถลำลึก พร้อมความเสื่อมของสถาบัน ที่ถูกอีเปรมเอามาย้ำยี แบบชนิดเสียหมา ตั้งแต่ปี 2553 ด้วยกระสุนพระราชทาน กว่า 2 แสนนัด


แม้มองภาพรวม การประเมินของฝั่ง กปปส และเหล่าทรราช คสช. จะมีกำลัง เหนือ กว่าฝ่ายประชาธิปไตย หรือประชาชนส่วยใหญ่ของประเทศอยู่ หลายขุม


หากมองกองทัพ การเป็นเอกภาพ สั่งได้ แม้ทหารเหล่านั้น จะกินเงินเดือนจากภาษีของ ประชาชน แต่รับใช้ ทรราช คสช. อย่างเตรียบรูปแบบ ก็ตาม


หรือแม้แต่ ผู้พิทักษ์ สินติราษฎร์ ก็กลับกลายเป็น ผู้พิทักษ์ทรราช คสช. อย่างเต็มรูปแบบ เช่นกัน

ตอนนี้คำสั่งตามกฎหมายของ ทรราช คสช.อยู่ในมือ มุ่งทำลาย นส. ยิ่งรักษณ์ อย่างน่าเกียด ด้วยข้อหา จำนำข้าว

แต่เอาเข้าจริง อีเปรม ผู้อยู่เบื้องหลัง ทรราช คสช. และศาลตุลาการ กลับพบกับ ประชาชนเป็นพันเป็นหมื่นทุกครั้งที่ นส. ยิ่งรักษณ์ ขึ้นศาล

นั้นแปลว่าอะไร แปลว่า อีเปรมและ ทรราช คสช. ไม่ใช่คู่ปรับของ ดร. ทักษิญ ไม่ว่าจะมองในมุมใหน


เพราะ


คู่ปรับที่คุณเอาชนะไม่ได้ ไม่ใช่ทักษิณ แต่เป็นประชาชน เจ้าของประเทศ ที่เทิดทูนระบอบประชาธิปไตย ต่ะหากเล่า เรื่องจึงตาลปัตรจนทุกวันนี้ !!!

——————-

ขอขอบคุณ ต้นฉบับที่คัดลอกมา

‪#‎เสรีชน‬