ยินดีต้อนรับ

พลเมืองที่รอบรู้เท่าทัน คือ พลังประชาธิปไตยที่แท้จริง
Well-informed citizens are the true democratic forces.

Thursday, December 31, 2015

ตัวอย่างหลักฐานที่ภูมิพลฆ่าพี่ชาย มีดังนี้

ตัวอย่างหลักฐานที่ภูมิพลฆ่าพี่ชาย มีดังนี้

1. วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกมหาลัยเยล "The United States and the Military Government of Thailand" (1993) Daniel Mark Fineman

หวังว่าคงไม่มีใครแถนะคะว่านี่เป็นเรื่องไม่จริง เพราะวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก มีการเช็คหลักฐานอ้างอิงทุกหลักฐาน ถ้าเขียนอะไรตอแหลลงไปในวิทยานิพนธ์แม้แต่ประโยคเดียว ก็จะต้องถูกปรับตกทันที แล้วทำไมนายโดนัลด์ ที่เขียนว่าภูมิพลทำปืนลั่นใส่หัวพี่ชาย ถึงได้ปริญญาเอกมาจากมหาลัยที่ดีที่สุดอันดับ 2 ของอเมริกาได้? ก็แปลว่ามหาลัยเขาเช็คข้อมูลแล้วไงว่าเรื่องจริง เขาถึงกล้าให้ปริญญาเอก แล้วยังพิมพ์หนังสือเขาเอาไปใช้เป็นหนังสืออ้างอิงเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ไทยด้วย วิทยานิพนธ์ของนายโดนัลด์ ได้เอาไปตีพิมพ์เป็นหนังสือ A Special Relationship: The United States and the Military Government in Thailand พิมพ์โดย University of Hawaii Press (1997)

2. หลักฐานลับจากสถานทูตอเมริกา USNA, Memorandum of Conversation by Stanton, March 31, 1948, 892.00/3-3148, RG 59 เป็นไฟล์ลับที่ทูตอเมริกา คุยกับ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ ว่าเป็นการเล่นปืนกัน แล้วไอ้บอดทำอุบัติเหตุปืนลั่นใส่หัวพี่ชายมัน แต่ว่ารัฐบาลไทยต้องเก็บเรื่องนี้เป็นความลับ ซึ่งสอดคล้องกันกับจดหมายของปรีดี พนมยงค์ ที่เขียนถึง จอมพล ป.พิบูลสงคราม ตอนที่จอมพล ป. คิดจะรื้อฟื้นคดีนี้ขึ้นมาใหม่ ว่า ในวันเกิดเหตุ ตอน 9 โมงเช้า นายบุศย์ ปัทมศริน ที่เฝ้าห้องนอนของ ร 8 อยู่ เห็นภูมิพลเดินเข้าไปในห้องของกษัตริย์อานันท์ และเมื่อเสียงปืนดังขึ้น ทั้งสองจึงวิ่งเข้าไปในห้อง แล้วเห็นภูมิพลนั่งร้องไห้อยู่ข้างเตียง นี่เป็นสิ่งที่นายบุศย์ บอก พล ตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ ในวันที่ตัวเองถูกประหารชีวิต

3. หนังสือ The Revolutionary King โดย William Stevenson หน้า 128 ผู้เขียน เขียนว่า เมื่อรัฐบาลไทยต้องการส่งภูมิพลไปเรียนต่อที่มหาลัย ออกซ์ฟอร์ด และขอเข้าเฝ้า กษัตริย์จอร์จที่ 6 ตอนไปถึงอังกฤษ กษัตริย์จอร์จตอบรัฐบาลไทยมาว่า วังบัคกิงแฮมของเรา ไม่ต้อนรับฆาตกร และไม่ยอมช่วยให้ภูมิพลเข้าเรียนออกซฟอร์ดได้ ภูมิพลจึงต้องไปเรียนที่สวิสแทน ถ้าคนเขียน เขียนเรื่องโกหกลงไป ขอถามว่า จนป่านนี้ ทำไมรัฐบาลไทย ไม่เคยไปฟ้องร้องสำนักพิมพ์ที่พิมพ์หนังสือเล่มนี้?? ถ้าสิ่งที่เขาเขียนเป็นเรื่องไม่จริง สามารถฟ้องหมิ่นประมาทได้ ทำไมถึงไม่ยอมไปฟ้อง??

Thailand: Enforced disappearance is not a crime

FOR IMMEDIATE RELEASE
AHRC-STM-208-2015
December 31, 2015

A Statement by the Asian Human Rights Commission

Thailand: Enforced disappearance is not a crime

On Tuesday, the Supreme Court affirmed the appellate court verdict of not guilty in relation to the five police officers accused in relation to the disappearance of Mr. Neelapaijit 11 years ago. The Supreme Court further held that the family could not be co-plaintiff as there was no conclusive evidence that Mr. Neelapaijit was dead or seriously injured.

11 years after the abduction and disappearance of Mr. Neelapaijit, the Supreme Court of Thailand refuses to accept the claim of the family that he has disappeared. During these long years, Thailand's investigating agencies have continuously conducted inquiries and have failed to find any trace of the lawyer Mr. Neelapaijit. The burden of accounting for a disappeared person is with the state. The state of Thailand has failed to establish what has happened to Mr. Neelapaijit. The Thai Supreme Court failed to fix the responsibility for accounting for the whereabouts of Mr. Neelapaijit on the Thai government. By doing so, the Supreme Court also denied the right of the family to hold the government responsible for its failure to account for what happened to Mr. Neelapaijit.

There are sinister implications to the Supreme Court's verdict. If a group of state agents succeeds not only in killing a victim but also in making them disappear, they have a greater chance of escaping liability for their crime on the basis of the verdict of the Supreme Court in this case. The burden of proving an enforced disappearance is thereby cast on the disappeared person himself.

The basic failure lies with the law of Thailand, which failed to recognize an enforced disappearance as a crime.

International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance defines the crime as follows: '"enforced disappearance" is considered to be the arrest, detention, abduction or any other form of deprivation of liberty by agents of the State or by persons or groups of persons acting with the authorization, support or acquiescence of the State, followed by a refusal to acknowledge the deprivation of liberty or by concealment of the fate or whereabouts of the disappeared person, which place such a person outside the protection of the law.'

The implication of the Supreme Court judgment is that such concealment of the fate or whereabouts of a disappeared person is considered to be a matter that does not come within the purview of the authority of the highest court in Thailand. This will only assure the state authorities that they may continue to cause such enforced disappearances, untroubled by the law.

In the recent decades, there have been large numbers of cases of enforced disappearances in Thailand. This means that there may be thousands of other families like the Neelapaijit family who seek to find legal redress for one of the most heinous crimes recognized under international law. In reply to them, what the Thai courts would say is that it may be an international crime under international law, but it is not a crime in Thailand. Such a message naturally encourages those who wish to engage in such crimes, and the state of impunity has been strengthened by the verdict of the Thai Supreme Court. Under these circumstances, the United Nations and other international bodies have a serious duty to bring sanctions against Thailand for the continuous protection it provides for perpetrators of the heinous crime of enforced disappearances.

# # #

About AHRC:The Asian Human Rights Commission is a regional non-governmental organisation that monitors human rights in Asia, documents violations and advocates for justice and institutional reform to ensure the protection and promotion of these rights. The Hong Kong-based group was founded in 1984.

Read this Statement online

 



Visit our website with more features at www.humanrights.asia.



You can make a difference. Please support our work and make a donation here
.

-----------------------------

Asian Human Rights Commission

G/F

52 Princess Margaret Road

Ho Man Tin, Kowloon

Hongkong S.A.R.

Tel: +(852) 2698-6339 Fax: +(852) 2698-6367

Web: www.humanrights.asia

twitter/youtube/facebook: humanrightsasia

คนรวยแห่งแดนใต้ ทำสถิติเข้าโรงจำนำเพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจ.

คนรวยแห่งแดนใต้ ทำสถิติเข้าโรงจำนำเพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจ. http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1451369203

กฏหมาย ชารียะฮ์ ที่ บันดา อาเจห์

กฏหมาย ชารียะฮ์ ที่ บันดา อาเจห์ https://www.facebook.com/BBCThai/posts/1724910034396696


นักศึกษาหญิงที่อาเจะห์ถูกโบย โทษฐานอยู่กับเพื่อนชายสองต่อสอง

นูร์ เอลิตา นักศึกษาหญิงวัย 20 ปี ถูกลงโทษด้วยการโบยหลังต่อหน้าสาธารณชนที่เมืองบันดา อาเจะห์ของอินโดนีเซีย เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา โทษฐานกระทำความผิดตามกฎหมายอิสลาม หรือ ชารีอะฮ์ โดยการอยู่ใกล้ชิดกับชายที่มิใช่ญาติหรือสามีสองต่อสอง

การลงโทษครั้งนี้ มีขึ้นที่ในสนามหน้ามัสยิดไบตูราฮิม ต่อหน้ากลุ่มคนหลายร้อยคนที่ไปรอเฝ้าดู บางคนส่งเสียงร้องเชียร์และถ่ายภาพด้วยโทรศัพท์มือถือด้วย อย่างไรก็ตาม หลังจากที่นูร์ เอลิตาถูกโบยด้วยหวายครบ 5 ครั้ง เธอได้ทรุดตัวล้มลงด้วยความเจ็บปวด และถูกหามส่งโรงพยาบาล จากนั้น นักศึกษาหนุ่มวัย 23 ปี ที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดร่วมกับเธอ ก็รับโทษถูกโบย 5 ครั้งเช่นกัน

ทั้งนี้ อาเจะห์ ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา เริ่มบังคับใช้กฎหมายชารีอะห์เป็นกฎหมายหลักเมื่อปี 2003 หลังได้รับสถานภาพเขตปกครองตนเองพิเศษจากรัฐบาลอินโดนีเซีย โดยเป็นเพียงจังหวัดเดียวในประเทศที่บังคับใช้กฏหมายนี้ กฎหมายชารีอะฮ์ครอบคลุมถึงการลงโทษผู้มีความผิดฐานดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เล่นการพนัน รักร่วมเพศ ผิดประเวณี และการแสดงความสนิทสนมระหว่างชายหญิงที่มิใช่คู่สมรส ทั้งมีการควบคุมความประพฤติของผู้หญิงอย่างเข้มงวด

บีบีซีไทย - BBC Thai's photo.
บีบีซีไทย - BBC Thai's photo.
บีบีซีไทย - BBC Thai's photo.
บีบีซีไทย - BBC Thai's photo.